การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
English Communication for Information Technology
เพื่อฝึกทักษะภาษาอังกฤษด้านคำศัพท์ สำนวน โครงสร้างภาษาที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารทางเทคโนโลยีสารสนเทศตามสถานการณ์ต่างๆ รวมถึงมารยาทในการสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายออนไลน์และเผยแพร่ผลงานผ่านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานในการสื่อสารภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งเป็นที่นิยมใช้กันในปัจจุบันทั้งในการปฏิบัติงานและชีวิตประจำวัน ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
การเรียนรู้คำศัพท์ สำนวน โครงสร้างภาษาที่เกี่ยวกับการสื่อสารทางเทคโนโลยีสารสนเทศรวมถึงมารยาทในการสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายออนไลน์และเผยแพร่ผลงานผ่านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
- อาจารย์ประจำรายวิชา กำหนดเวลาในการให้คำปรึกษา
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 พัฒนาผู้เรียนให้มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 ปลูกฝังผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย ขยัน อดทน และตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและส่งงานที่มอบหมายทันตามเวลาที่กำหนด
1.1.2 ปลูกฝังผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย ขยัน อดทน และตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและส่งงานที่มอบหมายทันตามเวลาที่กำหนด
สอดแทรกให้นักศึกษามีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม ไม่ลอกเลียนผลงานโดยไม่มีแหล่งอ้างอิงอย่างถูกต้องและเหมาะสม
2. จัดทำบันทึกการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานที่มอบหมาย เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ขยัน อดทน มีความรับผิดชอบและตรงต่อเวลา
2. จัดทำบันทึกการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานที่มอบหมาย เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ขยัน อดทน มีความรับผิดชอบและตรงต่อเวลา
1.3.1 สังเกตพฤติกรรมการนำเสนอหรือเผยแพร่ผลงานได้อย่างถูกต้องโดยมีแหล่งอ้างอิงอย่างเหมาะสม
1.3.2 พฤติกรรมการเข้าเรียนและการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามกำหนดเวลา
1.3.2 พฤติกรรมการเข้าเรียนและการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามกำหนดเวลา
2.1.1 ผู้เรียนสามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.2 ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.2 ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยายแบบผู้เรียนมีส่วนร่วม (interactive lecture) เพื่ออธิบายเนื้อหา สรุปบทเรียนและถามตอบเพื่อประเมินความเข้าใจในบทเรียน
2.2.2. สาธิตและฝึกทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษในแต่ละบริบทของการใช้สื่อเทคโนโลยีแต่ละประเภท
2.2.3 มอบหมายงานทำแบบฝึกหัดท้ายบทเรียนแต่ละบท
2.2.4 มอบหมายงานการใช้สื่อเทคโนโลยีในการค้นคว้า การรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานตามหัวข้อที่กำหนดและนำเสนอ/เผยแพร่ผลงานผ่านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น โปรแกรมนำเสนอผลงานทางคอมพิวเตอร์ หรือสื่อออนไลน์ประเภทต่างๆ
2.2.2. สาธิตและฝึกทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษในแต่ละบริบทของการใช้สื่อเทคโนโลยีแต่ละประเภท
2.2.3 มอบหมายงานทำแบบฝึกหัดท้ายบทเรียนแต่ละบท
2.2.4 มอบหมายงานการใช้สื่อเทคโนโลยีในการค้นคว้า การรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานตามหัวข้อที่กำหนดและนำเสนอ/เผยแพร่ผลงานผ่านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น โปรแกรมนำเสนอผลงานทางคอมพิวเตอร์ หรือสื่อออนไลน์ประเภทต่างๆ
2.3.1 การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน
2.3.2 การทำแบบฝึกหัดในแต่ละบทเรียน
2.3.3 ผลงานการค้นคว้าและการนำเสนอหรือเผยแพร่ผ่านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.3.4 การทดสอบย่อย การทดสอบกลางภาคและปลายภาค
2.3.2 การทำแบบฝึกหัดในแต่ละบทเรียน
2.3.3 ผลงานการค้นคว้าและการนำเสนอหรือเผยแพร่ผ่านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.3.4 การทดสอบย่อย การทดสอบกลางภาคและปลายภาค
3.1.1 พัฒนาทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2. พัฒนาทักษะในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรมสากล
3.1.2. พัฒนาทักษะในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรมสากล
3.2.1 ฝึกปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพโดยฝึกใช้สื่อเทคโนโลยีให้ถูกต้องและเหมาะสมกับบริบท ฝึกเลือกใช้ภาษาได้เหมาะสมกับการใช้งานในแต่ละบริบท
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม เกี่ยวกับลักษณะการใช้งานและข้อดีข้อด้อยของสื่อเทคโนโลยีสนเทศแต่ละประเภทตามความต้องการของแต่ละบริบท
3.2.3 ฝึกเลือกใช้สื่อเทคโนโลยีในการค้นคว้าหาข้อมูล การรวบรวมข้อมูล การนำเสนอและ/เผยแพร่ผลงานตามสถานการณ์ที่กำหนด
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม เกี่ยวกับลักษณะการใช้งานและข้อดีข้อด้อยของสื่อเทคโนโลยีสนเทศแต่ละประเภทตามความต้องการของแต่ละบริบท
3.2.3 ฝึกเลือกใช้สื่อเทคโนโลยีในการค้นคว้าหาข้อมูล การรวบรวมข้อมูล การนำเสนอและ/เผยแพร่ผลงานตามสถานการณ์ที่กำหนด
3.3.1 การทดสอบท้ายบทเรียน
3.3.2 การสังเกตพฤติกรรมระหว่างการอภิปรายกลุ่ม
3.3.3 ผลงานการจัดทำรายงาน การนำเสนอและการเผยแพร่ผลงาน
3.3.2 การสังเกตพฤติกรรมระหว่างการอภิปรายกลุ่ม
3.3.3 ผลงานการจัดทำรายงาน การนำเสนอและการเผยแพร่ผลงาน
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดีในการสื่อสารภาษาอังกฤษทั้งระหว่างบุคคลในวัฒนธรรมเดียวกันและต่างวัฒนธรรม
4.2.1 สอดแทรกเนื้อหาในรายวิชาที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมและมารยาทสากลในการสื่อสารภาษาในเครือข่ายออนไลน์
4.2.2 ฝึกปฏิบัติการเลือกใช้ภาษาในการสื่อสารให้เหมาะสมกับบริบท
4.2.2 ฝึกปฏิบัติการเลือกใช้ภาษาในการสื่อสารให้เหมาะสมกับบริบท
4.3.1 สังเกตพฤติกรรมในระหว่างการฝึกปฏิบัติการสื่อสารภาษา
4.3.2 การทดสอบการเลือกใช้ภาษาในสถานการณ์ที่กำหนด
4.3.2 การทดสอบการเลือกใช้ภาษาในสถานการณ์ที่กำหนด
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล การนำเสนอและการเผยแพร่ผลงานในรายวิชา
5.1.2 พัฒนาทักษะการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
5.1.2 พัฒนาทักษะการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
5.2.1 ฝึกทักษะการใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานรวมทั้งการนำเสนอและ/หรือเผยแพร่ผลงาน
5.2.2 ฝึกทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศตามสถานการณ์ที่กำหนด
5.2.3 มอบหมายงานให้ค้นคว้า รวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำรายงาน และนำเสนอผลงาน/เผยแพร่ผลงานผ่านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2.2 ฝึกทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศตามสถานการณ์ที่กำหนด
5.2.3 มอบหมายงานให้ค้นคว้า รวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำรายงาน และนำเสนอผลงาน/เผยแพร่ผลงานผ่านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.1 สังเกตพฤติกรรมการฝึกปฏิบัติระหว่างเรียน
5.3.2 ประเมินจากผลงานการนำเสนอและ/หรือเผยแพร่ผลงาน
5.3.3 การทดสอบการเลือกใช้ภาษาในการสื่อสารตามสถานการณ์ที่กำหนด
5.3.2 ประเมินจากผลงานการนำเสนอและ/หรือเผยแพร่ผลงาน
5.3.3 การทดสอบการเลือกใช้ภาษาในการสื่อสารตามสถานการณ์ที่กำหนด
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 3.3 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
1 | 13031041 | การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | หน่วยเรียนที่ 1 - 7 | ทดสอบกลางภาค | 9 | 25% |
2 | หน่วยเรียนที่ 8 - 11 | ทดสอบปลายภาค | 17 | 25% |
3 | หน่วยเรียนที่ 1 -11 | แบบฝึกหัด งานมอบหมาย กิจกรรมในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 30% |
4 | หน่วยเรียนที่ 8 | การนำเสนอ writing blog | 15 | 5% |
5 | หน่วยเรียนที่ 10 | นำเสนอ vdo clip ภาษาอังกฤษ | 16 | 5% |
6 | จิตพิสัย | การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบ การตรงต่อเวลา มีวินัย อดทน มีคุณธรรมจริยธรรม | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
เอกสารประกอบการสอนและ/หรือสไลด์ที่รวบรวมและจัดทำโดยอาจารย์ผู้สอน
Eric H. Glendinning, John McEwan (2006). Oxford English for Information technology, Oxford University Press.
Santiago Remacha Esteras (2008). Infotech English for computer users 4th edition, Cambridge University Press.
Remacha Esteras, Elena Marco Fabre (2007). Professional English in Use: ICT, Cambridge University Press.
Santiago Remacha Esteras (2008). Infotech English for computer users 4th edition, Cambridge University Press.
Remacha Esteras, Elena Marco Fabre (2007). Professional English in Use: ICT, Cambridge University Press.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
http://howtostartablog.org/free-blogging-services.html.
http://www.makemoney-school.com/how_blogger_signup.html.
http://www.wikihow.com/Start-a-Blog
http://makemoneynetonline.blogspot.com
http://lcplc.blogspot.com/
http://comviait.blogspot.com/
http://howtostartablog.org/free-blogging-services.html.
http://www.makemoney-school.com/how_blogger_signup.html.
http://www.wikihow.com/Start-a-Blog
http://makemoneynetonline.blogspot.com
http://lcplc.blogspot.com/
http://comviait.blogspot.com/
1.1 นักศึกษาเสนอแนะเนื้อหาในรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อนำไปปรับปรุง
1.2 การประเมินผลการสอนโดยใช้แบบประเมินของฝ่ายวิชาการ กองการศึกษา
1.3 ประเมินผลการสอนโดยใช้ระบบออนไลน์
1.2 การประเมินผลการสอนโดยใช้แบบประเมินของฝ่ายวิชาการ กองการศึกษา
1.3 ประเมินผลการสอนโดยใช้ระบบออนไลน์
2.1 สังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียน
2.2 สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาเมื่อสิ้นสุดการเรียนแต่ละหน่วยเรียน
2.3 ประเมินจากคะแนนแบบฝึกหัดแต่ละบทเรียนและความเข้าใจเนื้อหา
2.4 ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาคของนักศึกษา
2.2 สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาเมื่อสิ้นสุดการเรียนแต่ละหน่วยเรียน
2.3 ประเมินจากคะแนนแบบฝึกหัดแต่ละบทเรียนและความเข้าใจเนื้อหา
2.4 ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาคของนักศึกษา
3.1 ปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัยและมีระดับภาษาที่เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน
3.2 สำรวจรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาก่อนเรียนและปรับปรุงแบบกิจกรรมให้เหมาะสม
3.3 สรุปผลการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งเพื่อนำมาปรับปรุงครั้งต่อๆ ไป
3.2 สำรวจรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาก่อนเรียนและปรับปรุงแบบกิจกรรมให้เหมาะสม
3.3 สรุปผลการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งเพื่อนำมาปรับปรุงครั้งต่อๆ ไป
ในระหว่างการเรียนการสอนมีการตรวจแบบฝึกหัดและรายงานโดยตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละคนว่ามีการพัฒนาก้าวหน้าหรือไม่มี จากนั้นแก้ไขโดยการอธิบาทำความเข้าใจกับนักศึกษาทั้งชั้นหรือเป็นรายบุคคล พร้อมทั้งแจ้งผลคะแนนจากแบบฝึกหัดและคะแนนสอบเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
5.1 ทบทวนเนื้อหาในบทเรียน โดยเลือกระดับของภาษาให้เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน
5.2 มีการปรับปรุงเนื้อหาทุกปี ตามสภาวการณ์ใหม่ๆ และตามความน่าสนใจ
5.3 ปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้มีความหลากหลายและสนองตอบต่อรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลายของกลุ่มผู้เรียนหรือตามที่ได้ศึกษาวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
5.4 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะของนักศึกษาและของผู้ทรงคุณวุฒิที่ตรวจสอบรายวิชาในการประเมินคุณภาพการศึกษาประจำปี
5.2 มีการปรับปรุงเนื้อหาทุกปี ตามสภาวการณ์ใหม่ๆ และตามความน่าสนใจ
5.3 ปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้มีความหลากหลายและสนองตอบต่อรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลายของกลุ่มผู้เรียนหรือตามที่ได้ศึกษาวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
5.4 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะของนักศึกษาและของผู้ทรงคุณวุฒิที่ตรวจสอบรายวิชาในการประเมินคุณภาพการศึกษาประจำปี