ปฏิบัติการพันธุศาสตร์และการปรับปรุงพันธุ์พืช

Laboratory in Genetics and Plant Breeding

ปฎิบัติการเกี่ยวกับความน่าจะเป็น พันธุศาสตร์ของเมนเดล พันธุกรรมที่ควบคุมโดยยีนหลายคู่ พันธุศาสตร์ประชากร ยีนที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน สารพันธุกรรม การสืบพันธุ์ของพืช การปรับปรุงพันธุ์พืชผสมตัวเอง การปรับปรุงพันธุ์พืชผสมข้าม และเทคนิคการผสมพันธุ์ในพืชบางชนิด
ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยเหมาะสมกับสภาวะกาลปัจจุบัน
ปฎิบัติการเกี่ยวกับความน่าจะเป็น พันธุศาสตร์ของเมนเดล พันุกรรมที่ควบคุมโดยยีนหลายคู่ พันธุศาสตร์ประชากร ยีนที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน สารพันธุกรรม การสืบพันธุ์ของพืช การปรับปรุงพันธุ์พืชผสมตัวเอง การปรับปรุงพันธุ์พืชผสมข้าม และเทคนิคการผสมพันธุ์ในพืชบางชนิด
วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง PB 105  โทร 089-9502748
e-mail; Sottikul@hotmail.com ทุกวันเวลา
˜1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
1.1 สอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหาโดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมการรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2 กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆเช่นให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
ให้งานมอบหมายและกำหนดเวลาส่งงานมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
1.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน
1.2  ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3  ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด
1.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
˜2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.1 ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญได้แก่การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทางโดย เน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมทางอินเตอร์เน็ต /แหล่งข้อมูลอื่นๆ และจัดทำเป็นรายงาน
2.1   ทดสอบโดยข้อเขียนในการสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2.2   ประเมินจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
2.3   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.1 แนะนำให้ใช้ความรู้ทางทฤษฏีเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานเพาะปลูกไม้กระถางที่ได้รับมอบหมาย
3.2 อภิปรายกลุ่ม
3.3  ฝึกให้วิเคราะห์ปัญหาจากกรณีศึกษาที่มีผู้ศึกษาไว้แล้วโดยให้ไปค้นคว้าจากเอกสารต่างๆรวมการค้นคว้าจากฐานข้อมูล
 3.4   เชิญผู้เชี่ยวชาญจากสถานประกอบการหรือหน่วยงานของรัฐภายนอกมหาวิทยาลัยมาให้ข้อเสนอแนะและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
3.1   ทดสอบโดยข้อเขียนและสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาในชั้นเรียน
 3.2   ดูจากรายงานการนำเสนอรายงานและการมีส่วนร่วมในการเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน
 3.3   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
˜4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1   มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมายเพื่อให้นักศึกษา
   ทำงานได้กับผู้อื่นโดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
4.2   ให้นักศึกษาแบ่งงานและกำหนดความรับผิดชอบของแต่ละคนในการทำงานกลุ่มอย่างชัดเจน
4.3   การนำเสนอรายงาน
4.1   ประเมินตนเอง และเพื่อนโดยประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
4.2  ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
4.3   ประเมินจากกระบวนการทำงานและผลงานที่ทำเป็นกลุ่มหรือโครงงาน
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1  ใช้  Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
5.2มีการนำเสนองานกลุ่มหรือโครงงานต่อชั้นเรียนพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษาที่ถูกต้องชัดเจนและกระชับ
5.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี Power pointหรือเทคโนโลยีอื่นๆที่เหมาะสม
5.2   ประเมินจากการใช้สื่อและภาษาที่ใช้ในการเขียนรายงานและการนำเสนอในชั้นเรียน
5.3ประเมินจากการนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบโดยอาจนำเสนอในรูปของตัวเลขกราฟหรือตาราง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 21011313 ปฏิบัติการพันธุศาสตร์และการปรับปรุงพันธุ์พืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3,2.1, 2.2,3.1,4.3 การเข้าชั้นเรียน /การแต่งกาย การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5%
2 1.3,4.3 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
3 1.3,4.3 การทดสอบย่อย 3 ครั้ง 4,6,10 5%
4 1.3,4.3 การสอบกลางภาค 8 30%
5 5.1,5.3 การนำเสนองาน/การรายงาน 14 20%
6 5.1,5.3 การสอบปลายภาค 16 30 %
กาญจนา  รุจิพจน์.  2553. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา            21011312 พันธุศาสตร์และการปรับปรุงพันธุ์พืช. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
กฤษฎา  สัมพันธารักษ์.  2528.  ปรับปรุงพันธุ์พืช.  โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพาณิช,  กรุงเทพฯ.  155 น.
          กฤษฎา  สัมพันธารักษ์.  2544.  ปรับปรุงพันธุ์พืช : ความหลากหลายของแนวคิด.  สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 272 น.
          กฤษฎา  สัมพันธารักษ์.  2546.  ปรับปรุงพันธุ์พืช : พื้นฐาน วิธีการ และแนวคิด.  สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 237 น.
          นพพร สายัมพร. 2543. เทคนิคการปรับปรุงพันธุ์พืช. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 261 น.
          ประดิษฐ์  พงษ์ทองคำ. 2543. พันธุศาสตร์. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 398 น.
          ประดิษฐ์ พงศ์ทองคำ. 2550. พันธุศาสตร์ประชากรและปริมาณ. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 215 น.
          พีระศักดิ์   ศรีนิเวศน์. 2525. พันธุศาสตร์ปริมาณที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืช. ภาควิชาพืชไร่-นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 179 น. 
          วิทยา   บัวเจริญ. 2527. หลักการผสมและปรับปรุงพันธุ์พืช. กรุงสยามการพิมพ์, กรุงเทพฯ. 169.
          สมชัย  จันทร์สว่างและพีระศักดิ์ ศรีนิเวศน์. 2546. พันธุศาสตร์ประชากร. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 210 น.
          สุทัศน์  ศรีวัฒนพงศ์. 2552. การปรับปรุงพันธุ์พืช. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 259 น.
http:///www.doa.go.th
http://www.doae.go.th/
http:///www.rspg.thaigov.net
http://kanchanapisek.or.th/
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน นอกจากนี้ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน-การสอนควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน โดยการสุ่มรายวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
-  สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของสาขาวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอนหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนา ในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขาวิชา / คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป
- การสอนควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข