พืชสวนประดับ

Ornamental Horticulture

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้
1.1  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย  ความสำคัญ ประวัติความเป็นมาของพืชสวนประดับ  การจัดประเภทและลักษณะของพืชสวนประดับที่เป็นที่นิยม   การปลูกและการปฏิบัติรักษาพืชสวนประดับ 
1.2  มีทักษะในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับพืชสวนประดับตั้งแต่การปลูก  ดูแลรักษา  ขยายพันธุ์และเตรียมไม้ประดับเพื่อจำหน่าย
1.3  นำความรู้ ทักษะในสาขาไปประยุกต์ใช้ในการทำงานจริง และการใช้ชีวิต
1.4  มีเจตคติที่ดีต่อพืชสวนประดับ
เพิ่มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลพืชสวนประดับที่มีการจำหน่ายทั่วโลก หรือ สถิติการจำหน่ายพืชสวนประดับต่างๆ เทคนิคในการปลูกเลี้ยง
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและประโยชน์ของพืชสวนประดับ พฤกษศาสตร์ การจัดจำแนกพืชสวนประดับ  ชนิดพืชสวนประดับเพื่อการค้า  ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชสวนประดับ  การขยายพันธุ์   การปลูกและบำรุงรักษา    การเตรียมพืชสวนประดับเพื่อจำหน่าย
3
2. มีจรรยาบรรณ มีระเบียบวินัยเคารพกฏกติกาของสังคม
สอนแบบบรรยาย ปฏิบัติ
ประเมินตนเอง ประเมินโดยเพื่อน ทำรายงาน
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
สอนแบบบรรยาย การสอนแบบปฏิบัติ
ข้อสอบปรนัยและอัตนัย
มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
สอนแบบบรรยาย การสอนแบบปฏิบัติ
ข้อสอบปรนัยและอัตนัย
สังเกต
มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สอนแบบบรรยาย การสอนแบบปฏิบัติ
ข้อสอบปรนัยและอัตนัย
สังเกต
2. สามารถสืบค้น ศึกษาวิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
ใช้โปรแกรม power point สอน
นำเสนอข้อมูลผ่านสื่ออนไลน์
ข้อสอบปรนัยและอัตนัย
สังเกต
สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
ปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการและในโรงเรือน
ประเมินตามงานที่มอบหมาย การสังเกต
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ ทักษะการวิเคราะห์ ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.2 2.1 3.1 4.2 5.2 6.1
1 BSCAG152 พืชสวนประดับ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.3, 5.1.1 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-16 10%
2 3.1.1, 4.1.3, 5.1.1, 5.1.3 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
3 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1, การทดสอบย่อย 1 ครั้ง 12 5%
4 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1, การสอบกลางภาค 9 20%
5 3.1.1, 4.1.3, 5.1.1, 5.1.3 การนำเสนองาน/การรายงาน 5, 14 20%
6 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1, การสอบปลายภาค 17 20 %
7 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1, การสอบปฏิบัติ 15 20 %
รุ่งนภา ช่างเจรจา, ๒๕๖๐. เอกสารคำสอนในรายวิชา พืชสวนประดับ รหัสวิชา BSCAG๑๕๒. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, ๑๘๐ หน้า
ก่องกานดา ชยามฤต และนันท์นภัส ภัทรหิรัญไตรสิน. (2551). ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ 3. กรม อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด, กรุงเทพฯ. 90 น.
ดนัย บุญยเกียรติ. (2544). สรีรวิทยาของพืช. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหา- วิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 230 น.
ดนัย บุญยเกียรติ. (2560). การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวดอกไม้ของโครงการหลวง. สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน). 132 น.
หนังสือ วารสารสิ่งพิมพ์ ที่ออกเป็นรายปี รายเดือน รายสัปดาห์ในห้องสมุด
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับพืชสวนประดับต่างๆ
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา
1.1 ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจการสอนรายวิชาตามแบบฟอร์มมหาวิทยาลัยฯ
1.2 เขียนข้อเสนอแนะส่งอาจารย์ผู้สอนรายวิชา
 
2.1 ประเมินจากการสอบข้อเขียน สอบปฏิบัติและผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การประเมินจากเพื่อน
โดยพิจารณาจากการรวบรวมความคิดเห็นในชั้นเรียนของนักศึกษาในครั้งก่อน ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการสอนของนักศึกษา ผลการเรียนของนักศึกษา ได้ปรับปรุงการสอนโดยการเพิ่มทักษะในการปฏิบัติให้มากขึ้น กำหนดชนิดพืชให้มีความหลากหลาย เพื่อเป็นกรณีศึกษาให้กับนักศึกษา และเพิ่มข้อมูลชนิดพืชสวนประดับให้มีความเป็นปัจจุบันได้แก่สัปปะรดสี และกระบองเพชร
-
-