การวัดและประเมินผลการศึกษา

Educational Measurement and Assessment

1.   เข้าใจพื้นฐานของการวัดและประเมินผลการเรียนการสอน
2.   วางแผนและสร้างเครื่องมือวัดผลการเรียนได้ตรงตามวัตถุประสงค์
3.    มีทักษะในการสร้างเครื่องมือวัดได้อย่างเหมาะสมและวิเคราะห์คุณภาพของเครื่องมือวัด
4.    เลือกใช้เครื่องมือวัดประเภทต่างๆได้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียนการสอน
5.   ประเมินผลเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนและตัดสินผลการเรียน
6.   เข้าใจรูปแบบการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
7.    มีกิจนิสัยที่ดีในการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการ แนวคิด และวิธีการวัดและประเมิน ความรู้พื้นฐานด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา จุดประสงค์การเรียนการสอนและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม การสร้างตารางน้ำหนัก คะแนนและเกณฑ์ผ่านรายวิชา ประเภทและคุณลักษณะของเครื่องมือวัด การสร้างเครื่องมือวัดด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และ ทักษะพิสัย การวิเคราะห์คุณภาพของเครื่องมือวัด การประเมินผลการเรียนการสอน การประเมินตามสภาพจริง และการประเมินโครงการการศึกษา ความก้าวหน้าของรูปแบบการวัดและประเมินผล
 -     อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่าน เฟสบุ๊ค  ไลน์
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์  และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ในการเขียนโปรแกรมอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1  บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ   เช่น การใช้ Wed-board การใช้อินเตอร์เน็ต โดยมีวัตถุประสงค์ไม่สุจริต การป้องกันตนเอง
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
1.2.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
มีความรู้ในหลักการ ความสำคัญ   แนวคิด และวิธีการวัดและประเมิน ความรู้พื้นฐานด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา จุดประสงค์การเรียนการสอนและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม  การสร้างตารางน้ำหนัก คะแนนและเกณฑ์ผ่านรายวิชา ประเภทและคุณลักษณะของเครื่องมือวัด การสร้างเครื่องมือวัดด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และ ทักษะพิสัย  การวิเคราะห์คุณภาพของเครื่องมือวัด   การประเมินผลการเรียนการสอน การประเมินตามสภาพจริง และการประเมินโครงการการศึกษา  ความก้าวหน้าของรูปแบบการวัดและประเมินผล
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยี
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงการบูรณาการการเรียนการสอนกับบริการวิชาการ โดยวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา  ในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการแสดงพฤติกรรม
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้
3.3.2   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การอภิปรายหัวข้อที่เกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลการเรียนการสอน การวิเคราะห์หลักสูตร เพื่อสร้างเครื่องมือในการวัดผลด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย
 4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง    
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์
5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต 1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม 1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 2 มีความรู้ในหลักการ ความสำคัญ แนวคิด และวิธีการวัดและประเมิน ความรู้พื้นฐานด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา จุดประสงค์การเรียนการสอนและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม การสร้างตารางน้ำหนัก คะแนนและเกณฑ์ผ่านรายวิชา ประเภทและคุณลักษณะของเครื่องมือวัด การสร้างเครื่องมือวัดด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และ ทักษะพิสัย การวิเคราะห์คุณภาพของเครื่องมือวัด การประเมินผลการเรียนการสอน การประเมินตามสภาพจริง และการประเมินโครงการการศึกษา ความก้าวหน้าของรูปแบบการวัดและประเมินผล 3 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยี 4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม 4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา 5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา 5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 1. การสร้างเครื่องมือวัดด้านพุทธิพิสัย ด้านทักษะพิสัย ด้านจิตพิสัย 2. การนำเสนอรายงาน 3. การทำงานกลุ่มและผลงาน 4. การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40%
2 2. ความรู้ ที่ต้องได้รับ มีความรู้ในหลักการ ความสำคัญ แนวคิด และวิธีการวัดและประเมิน ความรู้พื้นฐานด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา จุดประสงค์การเรียนการสอนและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม การสร้างตารางน้ำหนัก คะแนนและเกณฑ์ผ่านรายวิชา ประเภทและคุณลักษณะของเครื่องมือวัด การสร้างเครื่องมือวัดด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และ ทักษะพิสัย การวิเคราะห์คุณภาพของเครื่องมือวัด การประเมินผลการเรียนการสอน การประเมินตามสภาพจริง และการประเมินโครงการการศึกษา ความก้าวหน้าของรูปแบบการวัดและประเมินผล 3. ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยี 1. สอบกลางภาค 2. สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 9 และ สัปดาห์ที่ 17 50%
3 1.1 คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์ และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการเขียนโปรแกรมอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้ 1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต 1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม 1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ 1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม 1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1. การเข้าชั้นเรียน 2. การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
                1)  เอกสารคำสอน
                2) สื่อ  PowerPoint
                3) แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
               4) เว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning
กรมวิชาการ  กระทรวงศึกษาธิการ.  การประเมินผลคุณลักษณะด้านจิตพิสัย.  เอกสารส่งเสริมการปฏิบัติตามหลักสูตร อันดับที่  7.  กรุงเทพมหานคร  :  โรงพิมพ์คุรุสภา,  2531 โกวิท  ประวาลพฤกษ์  และสมศักดิ์  สินธุระเวชญ์.  การประเมินผลในชั้นเรียน.  กรุงเทพมหานคร  :  วัฒนาพานิช,  2523. ชวาล  แพรัตกุล.  เทคนิคการวัดผล.  กรุงเทพมหานคร  :  วัฒนาพานิช,  2518. เชิดศักดิ์  โฆวาสินธุ์.  “การวัดภาคปฏิบัติ”  เอกสารประกอบการบรรยาย.  ม.ป.ท.  :  ม.ป.ป.  (อัดสำเนา). ต่าย  เซียงฉี.  ทฤษฎีการทดสอบและการวัดผลการศึกษา.  เชียงใหม่  :  คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,  2523. ธำรง  บัวศรี.  ทฤษฎีหลักสูตร  :  การออกแบบและพัฒนา.  กรุงเทพมหานคร  :  มงคลการพิมพ์,  2531. นิโลบล  นิ่มกิ่งรัตน์.  การวัดผลการศึกษาแบบอิงกลุ่ม – อิงเกณฑ์.  ม.ป.ท.,  2523.  174  หน้า. นิโลบล  นิ่มกิ่งรัตน์.  การวัดผลงานภาคปฏิบัติ.  เชียงใหม่  :  คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,  2531.  (เอกสารโรเนียวอัดสำเนา). บุญญศักดิ์  ใจจงกิจ.  เทคโนโลยีอาชีวศึกษาช่างอุตสาหกรรม.  กรุงเทพมหานคร  :  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า,  2519. บุญเชิด  ภิญโญอนันตพงษ์.  การวัดและประเมินผลการศึกษา.  อักษรเจริญทัศน์,  2523. เผียน  ไชยศร.  หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา.  เชียงใหม่  :  คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,  2522. ไพศาล  หวังพานิช.  การวัดผลการศึกษา.  กรุงเทพมหานคร  :  ไทยวัฒนาพานิช,  2526. ไพโรจน์  ตีรณธนากุล.  การวัดผลทักษะปฎิบัติ.  วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม ภาควิชาครุศาสตร์  อุตสาหกรรม  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี,  2523. ภิญโญ  สาธร.  การบริหารการศึกษา.  กรุงเทพมหานคร  :  ส.ส.การพิมพ์,  2523. สงัด  อุทรานันท์.  พื้นฐานและหลักการพัฒนาหลักสูตร.  กรุงเทพมหานคร : เซนเตอร์พับลิกเคชั่น,2528. สุธรรม์  จันทน์หอม.  หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา.  เชียงใหม่  :  คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,  2525. สุนันท์  ศลโกสุม.  การวัดผลการศึกษา.  มหามกุฎราชวิทยาลัย,  2525. สุมิตร  คุณากร.  หลักสูตรและการสอน.  กรุงเทพมหานคร  :  โรงพิมพ์ชวนพิมพ์,  2523. อุทุมพร  จามรมาน.  “การตรวจสอบภาคปฏิบัติ”  วารสารการวิจัยทางการศึกษา  3.  (กรกฎาคม – กันยายน,  2529). Bloom,  B.S.J.T.  Hastings  and  G.  F.  Madus.  Handbook  on  Formative  and  Summative  Evalution  of  Student  Learning.  New  York  :  MC.  Graw  Hill,  1972. Ebel,  R.L.  Measuring  Educational  Achievement.  New – Jerey  :  Prentice – Hall,  1965. Good,  Carter  V.  Dictionary  of  Education.    ed.  New  York  :  McGraw  Hill  Book  Company,  Inc.,  1973. Guildford,  J.P.  Psychometric  Methods.  New  York  :  McGraw – Hill  Company,  1954. Kibler,  Robert  J.et.al.,  Objectives  for  Instruction  and  Evaluation.  Allyn  and  Bacon  Inc., 1974. Popham  W.  James.  Classroom  Assessment  :  What  Teacher  Need  to  Know.  U.S.A. Allyn  Bacon,  1995. Priestley  Michael.  Performance  Assessment  in  Education  and  Training  :  Alternative  Techniques.  U.S.A.,  1982. Simpson,  Elizabeth  Jane.  The  Classification  of  Educational  Objectives  Psychomotor  Domain.  Illinois  :  University  of  Illinois,  1966.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านสื่อ e-learning  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2  จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ โดยการ สัมมนาการจัดการเรียนการสอน และการวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์ และสถานศึกษาด้านอาชีวศึกษา