ทัศนศิลป์ 1

Visual Art 1

1. รู้ความหมายและลักษณะทั่วไปของงานทัศนศิลป์ จิตรกรรม ประติมากรรม ศิลปะภาพพิมพ์ ตลอดจนและ สื่อศิลปะที่เกี่ยวข้อง
2. รู้จักวัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการสร้างงาน จิตรกรรม ประติมากรรม ศิลปะภาพพิมพ์ตลอดจนและ สื่อศิลปะที่เกี่ยวข้อง ในระดับพื้นฐาน
3. เข้าใจเทคนิควิธีการสร้างงาน จิตรกรรม ประติมากรรม และศิลปะภาพพิมพ์ และ สื่อศิลปะที่เกี่ยวข้อง ใน ระดับพื้นฐาน
4. มีทักษะในการสร้างงาน จิตรกรรม ประติมากรรม และศิลปะภาพพิมพ์ และ สื่อศิลปะที่เกี่ยวข้อง ในระดับพื้นฐาน
5. มีกิจนิสัยที่ดีในการทำงาน และเห็นคุณค่าของงานทัศนศิลป์
1. เพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพในการเรียนการสอนมากขึ้น
2. ให้เหมาะสมกับการต้องการของสังคม
3. ให้สอดคล้องกับ การเน้นพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ ตลอดจนการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของนักศึกษามากยิ่งขึ้น
ศึกษาและฝึกปฏิบัติสร้างสรรค์ผลงานศิลปะขั้นพื้นฐานโดยใช้เทคนิควิธีการทางทัศนศิลป์ จิตรกรรม ประติมากรรม ศิลปะภาพพิมพ์และสื่อศิลปะที่เกี่ยวข้อง
Introduction to fundamental techniques in visual art , painting,sculpture,printmaking and other relate media
- อาจารย์ประจำรายวิชา ให้คำปรึกษาและแนะนำการปฏิบัติงานทุกครั้งที่ลงมือปฏิบัติงาน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
š ข้อ 1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม š ข้อ 2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น ˜ ข้อ 3 มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งจรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา สอนให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในทุกวิชา ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอนและประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
˜ ข้อ 1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง š ข้อ 2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ   ข้อ 3 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )   ข้อ 4 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
ในด้านต่าง ๆ คือ
1. การทดสอบย่อย
2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
4. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
5. ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
6. ประเมินจากแผนการดำเนินงานศิลปะนิพนธ์ที่นำเสนอ
7. ประเมินจาการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการณ์
š ข้อ 1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน š ข้อ 2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์   ข้อ 3 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )   ข้อ 4 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
ใช้กรณีศึกษา การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษา และการนำเสนองาน
˜ ข้อ 1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี š ข้อ 2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง š ข้อ 3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
ข้อ 1 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน ) ข้อ 2 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน ) ข้อ 3 ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองและสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวล โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูลการนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร
ประเมินจากความถูกต้องจากการใช้ข้อมูลตัวและเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ
˜ ข้อ 1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ ˜ ข้อ 2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง ˜ ข้อ 3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามใบงาน และการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BFAVA114 ทัศนศิลป์ 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-15 ตรวจผลงานภาคการปฏิบัติขั้นสำเร็จตามหัวข้อที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 60%
2 1-15 การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การส่งงานตามที่มอบหมาย การนำเสนอโครงงานภาคเอกสาร ตลอดภาคการศึกษา 20% 10%
3 1-15 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
วาดเส้นด้วยดินสอ พิษณุ ประเสริฐผล 2549 กทม.
วาดเส้นพื้นฐาน วัชรพงษ์ หงส์สุวรรณ สำนักพิมพ์ วาดศิลป์ 2552 กทม.
ประวัติศาสตร์ประติมากรรม ประเสริฐ วรรณรัตน์ สำนักพิมพ์ วาดศิลป์ 2552 กทม.
ประติมากรรมหิน สุชาติ เถาทอง สำนักพิมพ์เกรทไฟน์อาร์ท 2549 กทม.
องค์ประกอบศิลปะ.ชลูด นิ่มเสมอ,กรุงเทพ:ไทยวัฒนาพานิช. 2531
ความรู้เกี่ยวกับศิลปะภาพพิมพ์.อัศนีย์ ชูอรุณ,สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.:กรุงเทพ.2543.
-
-
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานตามหัวข้อที่กำหนดทุกครั้ง
การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
ผลการเรียนของนักศึกษา
การทวนสอบความก้าวหน้าและความเข้าใจในการปฏิบัติงาน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ2จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
การวิจัยผลงานสร้างสรรค์เพื่อประกอบการเรียนรู้
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา และสังเกตความก้าวหน้า ความเข้าใจ และพัฒนาของผลการปฏิบัติงาน
การให้คะแนนจากการตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบโครงงานงาน วิธีการให้คะแนนโครงงานผลงานที่ปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
ปรับปรุงรายวิชาทุก3ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือหน่วยงานอื่น