การถ่ายภาพสำหรับงานสร้างภาพ 3 มิติและแอนนิเมชั่น

Digital Photography for 3-D Imaging and Animation

๑. เพื่อให้นักศึกษามีจิตสํานึกในคุณธรรมจริยธรรมเกี่ยวกับการถ่ายภาพ ตรงต่อเวลารักษาระเบียบกฏเกณฑ์
๒. มีความรู้เรื่องหลักการถ่ายภาพในงานออกแบบนิเทศศิลป์ ถ่ายภาพโฆษณา เทคนิคการถ่ายภาพและการจัด แสง เทคนิคการตกแต่งภาพ ระบบการจัดการสีภาพถ่าย
๓. เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฏิบัติงาน
๔. สามารถอธิบายการปฏิบัติงานได้อย่างเป็นระบบ
๕. เพื่อให้นักศึกษาสามารถทํางานเป็นกลุ่มได้
๖. เพื่อให้นักศึกษาเลือกใช้เครื่องมือในการทําผลงานและการนําเสนอได้อย่างเหมาะสม 
เพื่อปรับปรุงวิธีการจัดการเรียนการสอน และเนื้อหาในบางหัวข้อ 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการนําภาพถ่ายดิจิตอลไปใช้ในงาน 3 มิติ 2 มิติ และภาพเคลื่อนไหว การจัดการ ภาพถ่าย เทคนิคการทําภาพ ระบบการจัดการสีและการพิมพ์ภาพ การสร้างสรรค์และการนําเสนอผลงานภาพถ่ายใน งาน 3 มิติและอนิเมชั่น 
2 ชั่วโมง โดยระบุ วัน เวลา ไว้ในตารางสอนและแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน และให้ คําปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 
พัฒนาผู้เรียนให้มีจิตสํานึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทาง วิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิ ในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ตามคุณสมบัติหลักสูตร 
1. ให้ความสําคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กําหนด
2. ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ    
3. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาพถ่ายเพื่อการ โฆษณาประชาสัมพันธ์ โดยมีวัตถุประสงค์ในเรื่องของกรรมสิทธิ์และลิขสิทธิ์   
1.  พฤติกรรมการเข้าเรียน ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.  มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นํามาทํารายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3.   ประเมินผลการนําเสนองานปฏิบัติที่มอบหมาย 
มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้า ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 
1. บรรยาย  อภิปราย การทํางานกลุ่ม  การนําเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และ มอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนํามาสรุปและนําเสนอ  
2. การศึกษาโดยใช้ปัญหา  โครงงาน และเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
3. ฝึกการแก้ปัญหาจากสถานการณ์จําลอง 
1.   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.  ประเมินจากผลการปฏิบัติงาน
3. ประเมินจากการนําเสนอผลงานที่มอบหมาย 
มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนําความรู้มาคิด และใช้อย่างเป็นระบบ 
1.   ส่งเสริมการเรียนรู้ที่เน้นการวิเคราะห์ การแก้ไขปัญหา และการนําเสนอผลงาน
2.  ให้นักศึกษาปฏิบัติงานจากสถานการณ์จริง การลงพื้นที่ในชุมชน การสร้างสรรค์สื่อดิจิตอล
3.  มอบหมายงานการทํางานกลุ่ม
1.   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิด ในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.  วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนําเสนอผลงาน
3.  สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา   
มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถ ทํางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือ สังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1.  จัดกิจกรรมกลุ่มในการทํางาน การประกวดสร้างสรรค์สื่อดิจิตอล การบริการวิชาการแก่ชุมชน การเป็นสมาชิกกลุ่มและผลัดกันเป็นผู้รายงาน
2.  ให้คําแนะนําในการเข้าร่วมกิจกรรมของชมรม สโมสร กิจกรรมการประกวดถ่ายภาพของ มหาวิทยาลัย และหน่วยงานอื่น ๆ
3.   ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออก และเสนอความคิดเห็น โดยการอภิปรายและการนําเสนอ รายงาน   
1.   พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
2. ประเมินจากรายงานที่นําเสนอ  พฤติกรรมการทํางานเป็นกลุ่ม
3.  ประเมินจากผลการปฏิบัติงาน รายงานการศึกษาด้วยตนเอง 
สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 
1. ศึกษาจาก E- Learning และทํารายงาน โดยเน้นการอ้างอิงจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
2.  นําเสนอผลการปฏิบัติงานโดยการใช้ศักยภาพของคอมพิวเตอร์และโปรแกรมตกแต่งภาพในการ นําเสนอผลงาน ที่ได้รับมอบหมายด้วยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม 
1. ประเมินจากผลงานโครงงานส่วนบุคคลที่ได้รับมอบหมาย และรูปแบบการนําเสนอด้วยสื่อ เทคโนโลยี
2.  ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย 
- ไม่มี
- ไม่มี
- ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพ 3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 4. เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1. มีความรู้ และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3. สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ 1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ 2. มีทักษะในการนําความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดีงาม 2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1. สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 43012013 การถ่ายภาพสำหรับงานสร้างภาพ 3 มิติและแอนนิเมชั่น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา การเข้าชั้นเรียนการมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอข้อมูล รายงานการสืบค้น การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
2 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้า ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทดสอบย่อยก่อนเรียน ครั้งที่ 1 ( 10 คะแนน) สอบกลางภาค ( 20 คะแนน) สอบปลายภาค ( 20 คะแนน) 1. , 8 , 10 50
3 - มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ - มีทักษะในการนําความรู้มาคิด และใช้อย่างเป็นระบบ วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนําเสนอ การทําโครงงานรายบุคคล และการส่งงานตามที่ มอบหมาย การทํากิจกรรมประกวดสร้างสรรค์ สื่อดิจิตอล การบริการวิชาการแก่ชุมชน ตลอดภาคการศึกษา 40
E-Book  เอกสารคําสอนจาก http://suraphon.rmutl.ac.th/E-.1html            หนังสือ , ตําราเกี่ยวกับการออกแบบสื่อ ๓ มิติ 
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการออกแบบสื่อสร้างภาพ ๒ มิติและ ๓ มิติ การสร้างภาพเคลื่อนไหว 
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการออกแบบสื่อสร้างภาพ ๒ มิติและ ๓ มิติ การสร้างภาพเคลื่อนไหว 
 ๑.๑ การสนทนากลุ่มระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน    
๑.๒ แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา    
๑.๓ ข้อเสนอแนะ e-mail ที่ผู้สอนทําเป็นช่องทางสื่อสารกับนักศึกษา 
๒.๑ การสังเกตการณ์ของอาจารย์ผู้ร่วมสอน
๒.๒ ผลการเรียนและการทํากิจกรรมของนักศึกษา
๒.๓ การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
ระดมสมองหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน การวิจัยในและนอกชั้นเรียน 
๔.๑ การทวนสอบการให้คะแนนจากกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิอื่น
๔.๒ มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนน
๔.๓ ให้นักศึกษาประเมินตนเอง 
๕.๑ ปรับปรุงรายวิชาทุก ๕ ปี หรือตามข้อแสนอแนะ ผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ ๔
๕.๒ เปลี่ยนตัวอาจารย์ผู้สอน มีวิทยากรจากภายนอกมาบรรยายเสริม เพื่อรับประสบการณ์หรือสภาพปัญหาใน การทํางานจริง