เทคโนโลยีโรงสีข้าว

Rice Milling Technology

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจและสามารถปฏิบัติงานเกี่ยวกับ ข้าวและความสำคัญของข้าว คุณภาพข้าว การลดความชื้นเมล็ดข้าวเปลือก กระบวนการสีข้าวและเครื่องจักรที่ใช้ในกระบวนการสีข้าว  การบรรจุ และเก็บรักษาข้าว
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับข้าวและความสำคัญของข้าว คุณภาพข้าว การลดความชื้นเมล็ดข้าวเปลือก กระบวนการสีข้าวและเครื่องจักรที่ใช้ในกระบวนการสีข้าว  การบรรจุ และเก็บรักษาข้าวทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางวิศวกรรมและเทคโนโลยีในปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ ข้าวและความสำคัญของข้าว คุณภาพข้าว การลดความชื้นเมล็ดข้าวเปลือก กระบวนการสีข้าวและเครื่องจักรที่ใช้ในกระบวนการสีข้าว  การบรรจุ และเก็บรักษาข้าว
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ประมาณ 1 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
š 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
5. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การสอนในห้องปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบบรรยาย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.สถานการณ์จำลอง
3.การเขียนบันทึก
4.โครงการกลุ่ม
5.การสังเกต
6.การนำเสนองาน
7.การประเมินตนเอง
8.การประเมินโดยเพื่อน
˜ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜ 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
˜ 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนโดยการอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ (Panel, Forum, Symposium, Seminar) 
6. การสอนแบบ Tutorial Group
7. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
9. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
10. การสอนในห้องปฏิบัติการ  
11. การสอนแบบบรรยาย  
1.สถานการณ์จำลอง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.นิทรรศการ
5.การสังเกต
6.การนำเสนองาน
7.การฝึกตีความ
8.ข้อสอบอัตนัย
9. ข้อสอบปรนัย
10.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
11.การประเมินตนเอง
12.การประเมินโดยเพื่อน
š 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
5. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การสอนในห้องปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบบรรยาย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.สถานการณ์จำลอง
3.แฟ้มสะสมงาน
4.การเขียนบันทึก
5.โครงการกลุ่ม
6.นิทรรศการ
7.การสังเกต
8.การนำเสนองาน
9.การฝึกตีความ
10.ข้อสอบอัตนัย
11. ข้อสอบปรนัย
12.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
13.การประเมินตนเอง
14.การประเมินโดยเพื่อน
š 4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š 4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š 4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
2. การสอนโดยการอภิปราย
กลุ่มแบบต่าง ๆ (Panel, Forum, Symposium, Seminar) 
3. การสอนแบบ Tutorial Group
4. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
5. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
6. การสอนในห้องปฏิบัติการ  
7. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบบรรยาย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.นิทรรศการ
4.การสังเกต
5.การนำเสนองาน
6.การประเมินตนเอง
7.การประเมินโดยเพื่อน
š 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
š 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜ 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้  Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1.แฟ้มสะสมงาน
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.นิทรรศการ
5.การสังเกต
6.การนำเสนองาน
7.การประเมินตนเอง
8.การประเมินโดยเพื่อน
˜ 6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
˜ 6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
š 6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
ปฏิบัติการในห้องทดลอง
ปฏิบัติภาคสนาม/สถานประกอบการ
สหกิจศึกษา/ฝึกงาน
โครงงาน
ส่วนการปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการ หรือการใช้เครื่องมือ การวิจัย เป็นทักษะทางปัญญา
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.สถานการณ์จำลอง
3.การสังเกต
4.การนำเสนองาน
5.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
6.การประเมินตนเอง
7.การประเมินโดยเพื่อน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 24015302 เทคโนโลยีโรงสีข้าว
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1,3.1.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค โดยการประเมินแต่ละหัวข้อในการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ 7 17 30% 30%
2 2.1.2, 3.1.1 4.1.1, 4.1.3 ,5.1.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ทำการสอบปฏิบัติแต่ละบทปฏิบัติการ โดยการทดสอบทีละกลุ่ม และให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการสีข้าว บรรจุถุง และขายข้าว ที่ได้รับมอบหมายแต่ละกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 30%
กุลวุฒิ จอกน้อย. 2551. คู่มือการสีข้าว.สำนักงานพัฒนาทางธุรกิจและอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น.
 
ผดุงศักดิ์  วานิชชัง. 2535. การจัดการโรงสีข้าว.  ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตรศาสตร์บางพระ
,สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. ชลบุรี. 234 น.
 
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. 2550. ข้าวกล้องงอก “กาบ้าไรซ์ (GABA-rice)”นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ข้าวไทยในตลาดโลก. แหล่งที่มา 
 www.nia.or.th/innolinks/200701/innovtrend.htm ,18 เมษายน 2550.
 
Jankrajang.W. 2003 Design of Experiment Approach for Improving Rice Milling Quality MA.Thesis,Kasetsart University,Bankok :Thailand.
 
satake. Toshihiko. 1990. Modern Rice Milling Technology University of Tokyo Press: Japan.
หนังสือของอาจารย์ กุลวุฒิ จอกน้อย. 2551. คู่มือการสีข้าว.สำนักงานพัฒนาทางธุรกิจและอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   จากการสังเกตนักศึกษาในการปฏิบัติงานแต่ละครั้งที่ผ่านๆ มา โดยดูจากการตอบคำถามในการสอบปฏิบัติย่อยแต่ละครั้ง นักศึกษาไม่ค่อยมีทักษะในการสีข้าวมากนักเพราะว่าสีข้าวเพียงแค่ 5 ตัน แต่ในภาคเรียนที่2/2561 จะต้องเพิ่มจำนวนการสีข้าวของนักศึกษาให้มากขึ้น
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ