การบัญชีชั้นกลาง 2

Intermediate Accounting 2

1. เข้าใจแนวคิด หลักการ ทฤษฎี วิธีการบัญชีเกี่ยวกับหนี้สิน การแสดงรายงานทางการเงินและการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับหนี้สิน
2. เข้าใจแนวคิด หลักการ ทฤษฎี วิธีทางการบัญชีเกี่ยวกับส่วนของเจ้าของ การแสดงรายงานทางการเงินและการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนของเจ้าของประเภทกิจการห้างหุ้นส่วน บริษัทจำกัดและบริษัทมหาชนจำกัด
3. เข้าใจการจัดทำงบการเงินกระแสเงินสด
4. มีทักษะการบันทึกบัญชีและการแสดงรายงานทางการเงินเกี่ยวกับหนี้สิน ส่วนของเจ้าของ และมีทักษะการจัดทำงบกระแสเงินสด
5. สามารถนำความรู้ ทักษะในกระบวนการบันทึกรายการบัญชี ไปประยุกต์ใช้ในการทำงานจริง และการใช้ชีวิต
6. มีความรับผิดชอบและเอาใจใส่ในงานที่ได้รับมอบหมาย เป็นอย่างดี
7. มีค่านิยมที่ดีในการประกอบอาชีพนักบัญชีในอนาคต
เพื่อปรับปรุงและพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ ทันสมัยเป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เป็นปัจจุบันเฉพาะฉบับที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชา รวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกิจการห้างหุ้นส่วน บริษัทจำกัด และบริษัทมหาชนจำกัด และเมื่อสิ้นสุดกระบวนการเรียนการสอนในแต่ละภาคการศึกษาจะมีการทำรายงานผลการดำเนินงานรายวิชา (มคอ5) และนำข้อมูลในประเด็นปัญหาที่ต้องปรับปรุงไปใช้ในภาคการศึกษาต่อไป ทั้งนี้เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐานผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการ และวิธีการบัญชีทางด้านหนี้สินและส่วนของเจ้าของ การจำแนกประเภทหนี้สิน การรับรู้และการวัดมูลค่าหนี้สิน การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับหนี้สิน ซึ่งประกอบด้วย หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น การบัญชีเกี่ยวกับส่วนของเจ้าของ การจัดตั้งกิจการ การดำเนินงาน การแบ่งกำไรขาดทุน การเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของ การเลิกกิจการและการชำระบัญชีของห้างหุ้นส่วน การบัญชีเกี่ยวกับบริษัทจำกัดและบริษัทมหาชนจำกัด การจัดทำงบกระแสเงินสด
นักศึกษาสามารถเข้าพบได้ตามตารางเวลาที่กำหนดไว้ ประมาณ 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.1 มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ 1.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฎิบัติตามกฎระเบียบของสถาบัน และสังคม 1.3 สามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม 1.4 มีจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมีคุณธรรม
- ผู้สอนปฎิบัติตนเป็นตัวอย่างในเรื่องการแต่งกาย การตรงเวลา
- การแจ้งนโยบายในการเรียนหาข้อตกลงร่วมกันในเรื่อง

การแต่งกาย การตรงเวลา ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ สอนแทรกคุณธธรรม กฎกติกาการอยู่ร่วมในกันสังคม การทำงานกลุ่ม

- การสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในชั่วโมงเรียน อันได้แก่คุณธรรมจติยธรรมทางวิชาชีพ คุณธรรมจริยธรรมประพฤติอันมีผลต่อสังคม
- การปลูกจิตสำนักขั้นพื้นฐานในการรักษาระเบียบวินัยของมหาวิทยาลัย และความมีส่วนร่วมในการพัฒนาคณะและมหาวิทยาลัย
ประเมินโดยการสังเกตการแต่งกายที่ถูกระเบียบ พฤติกรรมการมีสัมมาคารวะต่อผู้ใหญ่ การแสดงออกในชั้นเรียน ความตรงเวลา การทุจริตในการสอบ การคัดลอกงานเพื่อน ตรวจสอบการมีวินัยในการเรียน การเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การส่งงานตรงเวลา
2.1 มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี 2.2 มีความรู้และความเข้าใจองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชี โดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม 2.3 มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฎิบัติงานด้านการบัญชีและอื่น ๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์ 2.4 สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฎิบิตอย่างต่อเนื่อง
- การบรรยายแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางบัญชี และยกตัวอย่างประกอบ
- การตั้งคำถามที่ให้เกิดความคิด และแก้ปัญหา
- มอบหมายแบบฝึกหัด
- มอบหมายงานสืบค้นข้อมูลกฎหมายเกี่ยวกับบริษัทมหาชนจำกัด
- ประเมินโดยการทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
- ประเมินคุณภาพผลงานที่มอบหมาย
- ประเมินคุณภาพแบบฝึกหัด
3.1 สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุ และวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง 3.2 สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ปัญหา รวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ 3.3 สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
- ให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นหรือตอบคำถาม
- ให้นักศึกษาทำงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากการตอบคำถาม การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
- ประเมินผลการสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
-แบบฝึกหัด
4.1 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 4.2 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี 4.3 มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ และในบทบาทของผู้ร่วมงาน 4.4 มีความรับผิดชอบพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง
- มอบหมายงานให้กับนักศึกษารับผิดชอบและส่งตามกำหนดเวลา
- แนะนำให้นักศึกษาใช้เวลาว่างในการพัฒนาตนเอง และการรู้จักทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
- แนะนำให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมตามที่ มหาวิทยาลัย คณะ สาขากำหนด
- ประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน พฤติกรรมจากการทำงานทีม
- ประเมินและสรุปผล การปฎิบัติงานที่นักศึกษานำมาส่ง
- ประเมินคุณภาพงานมอบหมาย
5.1 มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณ เพื่อการติดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง 5.2 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟ้งที่แตกต่างกัน 5.3 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมาย และการสื่อสารสนเทศ
- แนะนำแหล่งข้อมูล และการมอบหมายงานสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
- มอบหมายงานที่ต้องการการนำเสนองานด้วยวิธีการฟัง พูด อ่าน เขียน
- การตั้งคำถามที่ให้เกิดความคิด และแก้ปัญหา
- ประเมินทักษะการใช้สื่อ
- ประเมินคุณภาพใบงานภาคปฎิบัติทั้งงานเดี่ยว และงานกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ 1.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฎิบัติตามกฎระเบียบของสถาบัน และสังคม 1.3 สามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม 1.4 มีจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมีคุณธรรม 2.1 มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี 2.2 มีความรู้และความเข้าใจองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชี โดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม 2.3 มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฎิบัติงานด้านการบัญชีและอื่น ๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์ 2.4 สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฎิบิตอย่างต่อเนื่อง 3.1 สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุ และวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง 3.2 สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ปัญหา รวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ 3.3 สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน 4.1 สามารถปฎิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 4.2 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี 4.3 มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ และในบทบาทของผู้ร่วมงาน 4.4 มีความรับผิดชอบพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง 5.1 มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณ เพื่อการติดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง 5.2 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟ้งที่แตกต่างกัน 5.3 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมาย และการสื่อสารสนเทศ
1 BACAC121 การบัญชีชั้นกลาง 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1/2.3/3.1 /3.3/5.1 สอบย่อยครั้งที่ 1 5 25
2 2.1/2.3/3.1 /3.3/5.1 สอบกลางภาคเรียน 9 20
3 2.1/2.3/3.1 /3.3/5.1 สอบย่อยครั้งที่ 2 11 5
4 2.1/2.3/3.1 /3.3/5.1 สอบย่อยครั้งที่ 3 15 15
5 2.1/2.3/3.1 /3.3/5.1 สอบปลายภาคเรียน 18 25
6 1.1/1.2/4.2 /5.1 มีส่วนร่วมในชั้นเรียน 1-17 5
7 1.1/1.2/4.1 /4.3/4.4/5.1 แบบฝึกหัดและงานที่มอบหมาย 1-17 5
นุชจรีย์ พิเชฐกุล. การบัญชีขั้นกลาง 2. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วน ทีพีเอ็น เพรส. 2561.
จรรจา ลิมปภากุล. การบัญชีขั้นกลาง 2. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วน ทีพีเอ็น เพรส. 2560. เยาวรักษ์ สุขวิบูลย์. การบัญชีขั้นกลาง 2. พิมพ์ครั้งที่ 1/2561. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วน ทีพีเอ็น เพรส. 2561. พูลสิน กลิ่นประทุม. การบัญชีขั้นกลาง 2. พิมพ์ครั้งที่ 9/2559. กรุงเทพฯ: บริษัท วิทยพัฒน์ จำกัด. 2559. กนกลักษณ์ วงษ์เกรียงไกร. การบัญชีขั้นกลาง 2. พิมพ์ครั้งที่ 5/2558. กรุงเทพฯ: บริษัท อินโพไมนิ่ง จำกัด. 2558.
ข้อมูลเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวทางวิชาชีพบัญชี ได้แก่ประกาศเกี่ยวกับ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รายงานทางการเงินของบริษัทจดทะเบียนและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้จาก เว๊ปไซต์ ต่อไปนี้
www.fap.or.th
www.dbd.go.th
www.set.or.th
1) ให้นักศึกษาประเมินผลการสอนอาจารย์ผู้สอน ตามแบบประเมินของมหาวิทยาลัย
1) พิจารณาจากผลคะแนนการสอบ (สอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค)
2) พิจารณาจากงานที่มอบหมายให้ (ใบงาน แบบฝึกหัด รายงาน)
3) พิจารณาจากพฤติกรรมและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
1) นำผลการประเมินประสิทธิผลรายวิชาโดยนักศึกษาและผลประเมินการสอน มาพิจารณาการปรับปรุงการสอน
2) ผู้สอนควรศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม เข้ารับการอบรมสัมมา ในหัวข้อที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพัฒนาการสอน
1) การทวนข้อสอบและเกณฑ์ที่ใช้วัดผลสัมฤทธิ์ให้สอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้
1) นำเอาผลการประเมินข้อ1 และข้อ2 มาวิเคราะห์และหาแนวพัฒนาปรับปรุงการเรียนการสอนสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้