การตลาดอิเล็กทรอนิกส์
E-Marketing
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจความหมาย ขอบเขต วัตถุประสงค์ และความจำเป็นของการใช้เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์กับงานด้านการตลาด รวมถึงสามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ วางแผนและออกแบบกลยุทธ์การตลาดอิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างเหมาะสมกอปรกับการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในการแข่งขันของธุรกิจจริง
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงความสำคัญของงานด้านการตลาดอิเล็กทรอนิกส์ในยุคปัจจุบัน การวางแผนการตลาดอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการนำเสนอสินค้าและบริการอย่างเหมาะสม และสามารถใช้ทักษะและความรู้ด้านสารสนเทศมาใช้กับโครงงานที่ได้รับมอบหมายอย่างสัมฤทธิผล
3. สมรรถนะรายวิชา
1. มีความรู้และความเข้าใจของความสำคัญของการตลาดอิเล็กทรอนิกส์
2. สามารถวางแผนกลยุทธ์การตลาดอิเล็กทรอนิกส์เพื่อนำเสนอสินค้าและบริการได้อย่างเหมาะสม
3. สามารถประยุกต์ใช้กับการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และธุรกิจต่างๆได้อย่างเหมาะสม
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจความหมาย ขอบเขต วัตถุประสงค์ และความจำเป็นของการใช้เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์กับงานด้านการตลาด รวมถึงสามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ วางแผนและออกแบบกลยุทธ์การตลาดอิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างเหมาะสมกอปรกับการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในการแข่งขันของธุรกิจจริง
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงความสำคัญของงานด้านการตลาดอิเล็กทรอนิกส์ในยุคปัจจุบัน การวางแผนการตลาดอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการนำเสนอสินค้าและบริการอย่างเหมาะสม และสามารถใช้ทักษะและความรู้ด้านสารสนเทศมาใช้กับโครงงานที่ได้รับมอบหมายอย่างสัมฤทธิผล
3. สมรรถนะรายวิชา
1. มีความรู้และความเข้าใจของความสำคัญของการตลาดอิเล็กทรอนิกส์
2. สามารถวางแผนกลยุทธ์การตลาดอิเล็กทรอนิกส์เพื่อนำเสนอสินค้าและบริการได้อย่างเหมาะสม
3. สามารถประยุกต์ใช้กับการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และธุรกิจต่างๆได้อย่างเหมาะสม
1. คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาถึงความสำคัญของหลักการทางการตลาดอิเล็กทรอนิกส์ที่มีต่อระบบธุรกิจ แนวคิด และเครื่องมือทางการตลาดอิเล็กทรอนิกส์ การวางแผนและกลยุทธ์ทางการตลาด ทั้งตลาดสำหรับผู้บริโภค และตลาดธุรกิจทั้งภายในตลาดและการตลาดระหว่างประเทศที่ใช้อิเล็กทรอนิกส์เป็นเครื่องมือทางการตลาด ตลอดจนปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดกลยุทธ์และอนาคตของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ศึกษาถึงความสำคัญของหลักการทางการตลาดอิเล็กทรอนิกส์ที่มีต่อระบบธุรกิจ แนวคิด และเครื่องมือทางการตลาดอิเล็กทรอนิกส์ การวางแผนและกลยุทธ์ทางการตลาด ทั้งตลาดสำหรับผู้บริโภค และตลาดธุรกิจทั้งภายในตลาดและการตลาดระหว่างประเทศที่ใช้อิเล็กทรอนิกส์เป็นเครื่องมือทางการตลาด ตลอดจนปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดกลยุทธ์และอนาคตของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ/สาขาวิชา
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา
สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรม และวิชาชีพโดยใช้ดุลยพินิจทางค่านิยม ความรู้สึกของผู้อื่น ค่านิยมพื้นฐาน และจรรยาบรรณวิชาชีพ แสดงออกซึ่งพฤติกรรมทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม อาทิ มีวินัย มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ เป็นแบบอย่างที่ดี เข้าใจผู้อื่น และเข้าใจโลก เป็นต้น
มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและต่อผู้อื่น ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น และมีความสำนึกรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความเคารพต่อกฎ ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
มีจิตสำนึกและมีนโนธรรมที่จะแยกแยะความถูกต้อง ความดี และความชั่ว
สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรม และวิชาชีพโดยใช้ดุลยพินิจทางค่านิยม ความรู้สึกของผู้อื่น ค่านิยมพื้นฐาน และจรรยาบรรณวิชาชีพ แสดงออกซึ่งพฤติกรรมทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม อาทิ มีวินัย มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ เป็นแบบอย่างที่ดี เข้าใจผู้อื่น และเข้าใจโลก เป็นต้น
มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและต่อผู้อื่น ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น และมีความสำนึกรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความเคารพต่อกฎ ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
มีจิตสำนึกและมีนโนธรรมที่จะแยกแยะความถูกต้อง ความดี และความชั่ว
บรรยายพร้อมสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม
ให้ความสำคัญในด้านระเบียบวินัย การตรงต่อเวลา และการส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
ให้ความสำคัญในด้านระเบียบวินัย การตรงต่อเวลา และการส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.3.1 ประเมินผลจากพฤติกรรมการเข้าเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา
1.3.2 การอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงานอย่างถูกต้อง และเหมาะสม
1.3.2 การอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงานอย่างถูกต้อง และเหมาะสม
มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการเรียนด้านบริหารธุรกิจ ที่ครอบคลุมทั้ง การบัญชี นิติศาสตร์ ศิลปะศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจ ทางการตลาด การเงิน การผลิตและการดำเนินงาน รวมทั้งการจัดองค์กรและทรัพยากรมนุษย์
2.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.2.2 ใช้การสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหารายวิชา โดยเน้นหลักของทฤษฎี และปฏิบัติเพื่อให้เกิดองค์ความรู้
2.2.3 มอบหมายให้ทำแบบฝึกหัด หรือรายงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.2.2 ใช้การสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหารายวิชา โดยเน้นหลักของทฤษฎี และปฏิบัติเพื่อให้เกิดองค์ความรู้
2.2.3 มอบหมายให้ทำแบบฝึกหัด หรือรายงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.3.1 ประเมินจากสอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
3.1.1 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ต่อยอดกรอบความรู้เดิม สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษาและประสบการณ์เพื่อให้เกิดนวัตกรรม กิจกรรม หรือแนวทางในการบริหารธุรกิจใหม่ๆ
3.1.2 สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา และตัดสินใจอย่างเหมาะสม
3.1.1 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ต่อยอดกรอบความรู้เดิม สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษาและประสบการณ์เพื่อให้เกิดนวัตกรรม กิจกรรม หรือแนวทางในการบริหารธุรกิจใหม่ๆ
3.1.2 สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา และตัดสินใจอย่างเหมาะสม
3.2.1 การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงงานโดยให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2 วิเคราะห์กรณีศึกษา เกี่ยวกับการใช้การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์ใช้เครื่องมือการตลาดอิเล็กทรอนิกส์อย่างเหมาะสม
3.2.2 วิเคราะห์กรณีศึกษา เกี่ยวกับการใช้การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และการประยุกต์ใช้เครื่องมือการตลาดอิเล็กทรอนิกส์อย่างเหมาะสม
3.3.1 ประเมินจากโครงงาน หรือรายงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียน และเอกสารรายงาน
3.3.2 ประเมินจากกรณีศึกษา
3.3.2 ประเมินจากกรณีศึกษา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.1 มีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษยสัมพันธ์และสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา
4.1.2 มีความสามารถในการริเริ่มแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ที่อาจมีความแตกต่าง อย่างสร้างสรรค์
4.1.1 มีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษยสัมพันธ์และสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา
4.1.2 มีความสามารถในการริเริ่มแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ที่อาจมีความแตกต่าง อย่างสร้างสรรค์
4.2 วิธีการสอน
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่ม ในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่ม
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่ม ในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่ม
4.3 วิธีการประเมินผล
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ
4.3.2 สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ
4.3.2 สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.1 สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีสิทธิภาพ
5.1.2 สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐาน และเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน
5.1.3 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจอย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจา
5.1.1 สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีสิทธิภาพ
5.1.2 สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐาน และเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน
5.1.3 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจอย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจา
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าทางอินเทอร์เน็ต และทำรายงานโดยให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
5.2.2 ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจจากข้อมูลบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข
5.2.3 การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศในงานที่ได้รับมอบหมาย
5.2.2 ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจจากข้อมูลบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข
5.2.3 การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศในงานที่ได้รับมอบหมาย
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากผลงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมาย
5.3.2 ประเมินจากผลงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมาย
--
--
--
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1.1,2.1.2 | การทดสอบ -การสอบกลางภาค -การสอบปลายภาค | 8 15 | 30% 30% |
2 | 2.1.1,2.1.2, 3.1.1,3.1.2, 4.1.1,4.1.2, 5.1.1,5,1.2, 5.1.3 | การวิเคราะห์กรณีศึกษา การค้นคว้า การนำเสนอรายงาน -การทำรายงาน/งานที่มอบหมาย -การส่งงานตามกำหนดเวลา | ตลอดภาคการศึกษา | 30% |
3 | 1.1.1,1.1.2, 1.1.3 | การเข้าชั้นเรียน -การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
ภาวุธ พงษ์วิทยภานุและคณะ.E-Marketing เจาะเทคนิคการตลาดออนไลน์. กรุงเทพ ฯ: ตลาด ดอท คอม, 2551. 252 หน้า
2. เอกสาร และข้อมูลสำคัญ
กุลฉัตร ฉัตรกุล ณ อยุธยา.ระบบสารสนเทศทางการตลาด. เชียงใหม่ : ภาควิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยพายัพ, 2550.
พันจันทร์ ธนวัฒนเสถียรและกรภัทร สุทธิดารา, อินเทอร์เนตและอินทราเนต , กรุงเทพฯ: ดวงกมลสมัย.
วัชรพงศ์ ยะไวทย์, e-Commerce และกลยุทธ์การทำเงินบนอินเทอร์เนต , กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น ,2543.
ศูนย์พัฒนาพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์ , E-Commerceในธุรกิจจริง-เรียนรู้จากกรณีศึกษาเด่นทั่วโลก, พิมพ์ครั้งที่ 1 : ซีเอ็ดยูเคชั่น , 2545.
แมคแคลเรนและแมคแคลแรน , แบบฝึกหัดเพื่อการปฏิบัติจริง พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ธุรกิจบนอินเทอร์เนต , (แปลและเรียบเรียง โดย ECRC, NECTEC, NSTDA) : กิเลนการพิมพ์ ,2544.
แอนดริว เอส ทาเนนบวม , เครือข่ายคอมพิวเตอร์ , (สัลยุทธ์ สว่างวรรณ, ผู้แปล), กรุงเทพฯ: เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น , อินโดไชน่า , 2542.
อาณัติ ลีมัคเดช , E-Commerce เรียนรู้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ภาคทฤษฎีและปฏิบัติ,กรุงเทพฯ : เอ.อาร์ บิซิเนสเพรส , 2546.
ชาร์ลส์ เทรปเปอร์, ก้าวสู่ความเป็นหนึ่ง กับ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์, (อุไรวรรณ ชัยวิริยะกุล,ผู้แปล),กรุงเทพฯ : สามย่าน.com, 2544.
E. Turban.,Electronic Commerce 2002 ; A Managerial Perspective, New Jersy :Prentice Hall , 2002.
Judy Strauss and Raymond Frost., E - Marketing 2nded. , New Jersy : Prentice Hall , 2001.
Kotler Phillip , Dipak C. Jain and Suvit Maesincee , Marketing Moves , : HBS. Press , 2001.
กุลฉัตร ฉัตรกุล ณ อยุธยา.ระบบสารสนเทศทางการตลาด. เชียงใหม่ : ภาควิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยพายัพ, 2550.
พันจันทร์ ธนวัฒนเสถียรและกรภัทร สุทธิดารา, อินเทอร์เนตและอินทราเนต , กรุงเทพฯ: ดวงกมลสมัย.
วัชรพงศ์ ยะไวทย์, e-Commerce และกลยุทธ์การทำเงินบนอินเทอร์เนต , กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น ,2543.
ศูนย์พัฒนาพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์ , E-Commerceในธุรกิจจริง-เรียนรู้จากกรณีศึกษาเด่นทั่วโลก, พิมพ์ครั้งที่ 1 : ซีเอ็ดยูเคชั่น , 2545.
แมคแคลเรนและแมคแคลแรน , แบบฝึกหัดเพื่อการปฏิบัติจริง พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ธุรกิจบนอินเทอร์เนต , (แปลและเรียบเรียง โดย ECRC, NECTEC, NSTDA) : กิเลนการพิมพ์ ,2544.
แอนดริว เอส ทาเนนบวม , เครือข่ายคอมพิวเตอร์ , (สัลยุทธ์ สว่างวรรณ, ผู้แปล), กรุงเทพฯ: เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น , อินโดไชน่า , 2542.
อาณัติ ลีมัคเดช , E-Commerce เรียนรู้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ภาคทฤษฎีและปฏิบัติ,กรุงเทพฯ : เอ.อาร์ บิซิเนสเพรส , 2546.
ชาร์ลส์ เทรปเปอร์, ก้าวสู่ความเป็นหนึ่ง กับ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์, (อุไรวรรณ ชัยวิริยะกุล,ผู้แปล),กรุงเทพฯ : สามย่าน.com, 2544.
E. Turban.,Electronic Commerce 2002 ; A Managerial Perspective, New Jersy :Prentice Hall , 2002.
Judy Strauss and Raymond Frost., E - Marketing 2nded. , New Jersy : Prentice Hall , 2001.
Kotler Phillip , Dipak C. Jain and Suvit Maesincee , Marketing Moves , : HBS. Press , 2001.
ttp://mkpayap.payap.ac.th/course/MK424/ /MK424homepage.HTM
หนังสือพิมพ์ธุรกิจต่าง ๆ เช่น ประชาชาติธุรกิจ ฐานเศรษฐกิจ ผู้จัดการ ฯลฯ
วารสาร นิตยสาร บทความหรืองานวิจัยต่าง ๆ ทางการตลาด และ เว็บไซด์ทางธุรกิจ
หนังสือพิมพ์ธุรกิจต่าง ๆ เช่น ประชาชาติธุรกิจ ฐานเศรษฐกิจ ผู้จัดการ ฯลฯ
วารสาร นิตยสาร บทความหรืองานวิจัยต่าง ๆ ทางการตลาด และ เว็บไซด์ทางธุรกิจ
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 ผลงานกลุ่มของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 ผลงานกลุ่มของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 ผลงานกลุ่มของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 ผลงานกลุ่มของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา ได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น
4.2 การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น
4.2 การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการตลาดให้มีความหลากหลายมากขึ้น
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการตลาดให้มีความหลากหลายมากขึ้น