การจัดทรัพยากรครอบครัว

Family Resource Management

ให้นักศึกษารู้เกี่ยวกับทรัพยากรครอบครัว เข้าใจหลักและวิธีการจัดการทรัพยากรครอบครัว ตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากรครอบครัว และความสำคัญของการจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
    1.เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ทางวิชาการ และความชำนาญในสาขาวิชาชีพ
    2.เพื่อให้มีทักษะในการศึกษา ค้นคว้า วิจัย และพัฒนางานด้านคหกรรมศาสตร์
    3.เพื่อพัฒนาบัณฑิตให้สอดคล้องกับตลาดแรงงานและสามารถเป็นผู้ประกอบการได้
    4.เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติที่มีต่อวิชาชีพและความรับผิดชอบต่อสังคม
ความหมาย ประเภท ความสำคัญ ของการจัดการทรัพยากรครอบครัว หลักการจัดการและตัดสินใจในการใช้เวลา แรงงาน การเงิน งานบ้าน ให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ตลอดจนการจัดการทรัพยากรในครอบครัว ในสถานการณ์ต่าง ๆ
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  แนะนำเกี่ยวกับเวลาให้คำปรึกษาทางวิชาการในชั้นเรียน
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
      (เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีจิตสำนึก สาธารณะและตระหนักในคุณค่า ของคุณธรรม จริยธรรม เคารพสิทธิและคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางด้านคุณธรรม จรรยาบรรณ เช่น การรักษาสิ่งแวดล้อม การตัดต้นไม้ทำลายป่า การทิ้งน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมลงสู่แม่น้ำ อภิปรายกลุ่ม กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1.1   มีความเข้าใจทั้งทางภาคทฤษฎี ในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2   สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษาเข้ากับศาสตร์อื่น ๆที่เกี่ยวข้อง
2.1.3   ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่สอน
บรรยาย  อภิปราย การสาธิต การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา มอบหมายงานให้ค้นคว้า ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปนำเสนอและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากงานที่ให้ค้นคว้าจากกรณีศึกษา
          3.1.1 มีทักษะในการนำความรู้มาคิด และใช้อย่างเป็นระบบ
          3.1.2 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ
3.2.1   มอบหมายให้นักศึกษาทำโครงการโดยเน้นความรู้ทางด้านวิชาการ ให้วิเคราะห์ แก้ไขปัญหาและนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.3.1   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.3.2   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   มีภาวะผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.2   มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.3   สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์ที่เรียนมาช่วยเหลือผู้อื่นได้
4.2.1   มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคลที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.2   การนำเสนอผลงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และผู้ร่วมงาน
4.3.2  ประเมินจากกิจกรรมที่ได้รับมอบหมายให้ทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากการนำเสนอผลงาน    
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลขหรือมีสถิติอ้างอิงจากแหล่งที่มาของข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2  นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
5.3.2   ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการนำเสนอ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-2.1 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 3 10%
2 2.2-3.3 สอบกลางภาค 8 25%
3 3.4-4.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 11 10%
4 4.3-5.3 สอบปลายภาค 17 25%
5 1.2-2.1 3.1-3.2 4.3-5.3 4.1 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
6 บทที่ 1-5 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
จีรพรรณ  ชีรานนท์. เศณษฐศาสตร์ครอบครัว. 2522 แผนกคำสอนของคณะเศรษฐศาสตร์และ บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
จันทร์เพ็ญ  จาปะเกษตร์. การเงินบุคคล. 2524 แผนกคำสอนของคณะเศรษฐศาสตร์และ
บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปรีชา  สุวรรณพินิจ. วิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม.2534 ธรพงษ์การพิมพ์ กรุงเทพฯ
วารุณี  วงษา. การจัดการบ้านเรือน.2534 พิมพ์ครั้งที่ 1 ไทยวัฒนาพานิช.กรุงเทพฯ
เอกสารการสอนชุดวิชา. การจัดการทรัพยากรครอบครัวและชุมชน.2547 หน่วยที่ 1-7,8-15 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พิมพ์ครั้งที่ 10 กรุงเทพฯ
เอกสารการสอนชุดวิชา. ครอบครัวและสิ่งแวดล้อม.2543 หน่วยที่ 1-7,8-15 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พิมพ์ครั้งที่ 8 กรุงเทพฯ
เอกสารการสอนชุดวิชา. วิทยาศาสตร์คหกรรมศาสตร์ 2543 หน่วยที่ 11-15มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พิมพ์ครั้งที่ 8 กรุงเทพฯ
เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องหรือรายการทีวีที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาหาร
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
2.2   การประเมินผลจากผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การสังเกตพฤติกรรมและการมีส่วนร่วม
2.4   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   การจัดกิจกรรมศึกษานอกสถานที่
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.3   ใช้บุคลากรในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.3 เชิญบุคคลากรในชุมชนมามีส่วนร่วมในการเรียนการสอน