การจัดการพื้นที่สำนักงาน
Office Layout Management
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้มีความเข้าใจเกี่ยวกับ แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการจัดวางแผนผังสำนักงาน การจัดรูปแบบสำนักงาน การออกแบบและจัดพื้นที่สำนักงาน สามารถกำหนดแนวทางการบริหารจัดการพื้นที่สำนักงานโดยประยุกต์ใช้ความรู้กับสถานการณ์จริงได้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อการใช้ประโยชน์พื้นที่ได้อย่างคุ้มค่า สร้างความประทับใจและความพึงพอใจในการปฏิบัติงานสำนักงาน
เพื่อพัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีความรอบรู้ มีความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการพื้นที่สำนักงาน สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านการจัดการพื้นที่สำนักงานเพื่อบูรณาการ กับสถานการณ์ ได้อย่างเหมาะสมและเกิดประสิทธิภาพในการดำเนินงาน สร้างความประทับใจและความพึงพอใจในการปฏิบัติงานสำนักงาน คงคุณประโยชน์ต่อสังคม และสภาพแวดล้อม
ศึกษาแนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการจัดวางแผนผังสำนักงาน เช่น การจัดวัสดุอุปกรณ์ และส่วนประกอบต่าง ๆ ภายในสำนักงานให้เหมาะสมกับพื้นที่ และลักษณะงาน โดยคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนการดำเนินงานขององค์กร ศึกษาการจัดรูปแบบสำนักงาน การออกแบบและจัดพื้นที่สำนักงาน ศึกษาแนวทางการจัดวางพื้นที่เพื่อการใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อสร้างความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน
- อาจารย์ประจำรายวิชา ติดประกาศเวลาให้คำปรึกษาหน้าห้องพักอาจารย์
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
Accountability ความรับผิดชอบ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)
บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม
บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1.1 2.1.2 2.1.3 2.1.4 3.1.1 | สอบกลางภาค สอบปลายภาค | 8 16 | 15% 15% |
2 | 1.1.1 1.1.2 1.1.3 3.1.1 3.1.2 3.1.3 5.1.2 5.1.3 5.1.6 | การทำงานกลุ่ม (Team based learning) และ การส่งงานตามที่มอบหมาย การจัดทำโครงงาน (Project based learning) และการนำเสนอ | ตลอดภาคการศึกษา | 20% 30% |
3 | 4.1.1 4.1.2 4.1.4 6.1.1 6.1.4 6.1.5 | สังเกตุการเข้าชั้นเรียน การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน (TIPS) สังเกตุการแสดงความคิดเห็น | ตลอดภาคการศึกษา | 10% 10% |
เอกสารเรียบเรียง
นิศรา จันทร์เจริญสุข.2560. การจัดการพื้นที่สำนักงาน เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ล้านนา .
นิศรา จันทร์เจริญสุข.2560. การจัดการพื้นที่สำนักงาน เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ล้านนา .
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ จะใช้แนวทางการเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักศึกษา โดยวิธีการดังนี้
1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน หรือ
1.2 ข้อเสนอแนะจากนักศึกษาระหว่างเรียน หรือ
1.3 แบบประเมินผู้สอน ซึ่งนักศึกษาจะต้องเป็นผู้ประเมิน เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา
1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน หรือ
1.2 ข้อเสนอแนะจากนักศึกษาระหว่างเรียน หรือ
1.3 แบบประเมินผู้สอน ซึ่งนักศึกษาจะต้องเป็นผู้ประเมิน เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 เทคนิควิธีการสอน / กิจกรรมการเรียนรู้ หรือ
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา ซึ่งได้มาจาก การให้คะแนนสอบ รายงาน/โครงการ หรือ
2.3 การทวนสอบผลสัมฤทธ์การเรียนรู้ในรายวิชา โดยให้นักศึกษาตอบแบบประเมิน “การประเมินการสอนโดยนักศึกษาในรายวิชา”
2.1 เทคนิควิธีการสอน / กิจกรรมการเรียนรู้ หรือ
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา ซึ่งได้มาจาก การให้คะแนนสอบ รายงาน/โครงการ หรือ
2.3 การทวนสอบผลสัมฤทธ์การเรียนรู้ในรายวิชา โดยให้นักศึกษาตอบแบบประเมิน “การประเมินการสอนโดยนักศึกษาในรายวิชา”
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการศึกษาหาข้อมูลเพิ่มเติมแนวทางวิธีการสอนด้วยตนเอง ที่สามารถพัฒนาผู้เรียนตามผลการเรียนรู้ให้ดีขึ้น เหมาะสมกับผู้เรียนมากขึ้น หรือ จัดกิจกรรมในการระดมสมองเพื่อปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอนกับผู้สอนร่วม หรือ
3.2 พัฒนาความรู้ความสามารถ โดยผ่านการอบรมสัมมนา
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอนกับผู้สอนร่วม หรือ
3.2 พัฒนาความรู้ความสามารถ โดยผ่านการอบรมสัมมนา
การสอนในรายวิชา จะมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ตามที่คาดหวังในรายวิชา ซึ่งได้กำหนดไว้ในหลังสูตร ดังนี้
4.1 กำหนดคณะกรรมการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา ประกอบด้วย 1) อาจารย์ในสาขาวิชาที่ไม่ใช่ผู้สอน 2) ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และ 3) ผู้ทรงคุณวุฒิ
4.2 กำหนดวิธีการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา เช่น การประเมินข้อสอบกลางภาค/ปลายภาค หรือ การประเมินโครงงาน / รายงาน / กิจกรรม หรือวิธีการให้คะแนน ในรายวิชา
4.1 กำหนดคณะกรรมการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา ประกอบด้วย 1) อาจารย์ในสาขาวิชาที่ไม่ใช่ผู้สอน 2) ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และ 3) ผู้ทรงคุณวุฒิ
4.2 กำหนดวิธีการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา เช่น การประเมินข้อสอบกลางภาค/ปลายภาค หรือ การประเมินโครงงาน / รายงาน / กิจกรรม หรือวิธีการให้คะแนน ในรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชา เมื่อครบรอบการปรับปรุงหลักสูตร (ทุก 5 ปี) หรือปรับปรุง ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน หรือปรับปรุงวิธีการสอน / กิจกรรม / โครงงานที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ตามที่คาดหวังในหลักสูตร และสามารถพัฒนาผู้เรียนได้อย่างเหมาะสม
5.1 ปรับปรุงรายวิชา เมื่อครบรอบการปรับปรุงหลักสูตร (ทุก 5 ปี) หรือปรับปรุง ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน หรือปรับปรุงวิธีการสอน / กิจกรรม / โครงงานที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ตามที่คาดหวังในหลักสูตร และสามารถพัฒนาผู้เรียนได้อย่างเหมาะสม