ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาในการดำเนินชีวิต
Sufficiency Economy and Wisdom of Living
1. เพื่อให้เข้าใจหลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2. เพื่อให้เข้าใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
3. เพื่อให้ตระหนักถึงคุณค่า เห็นความสำคัญ ร่วมส่งเสริมอนุรักษ์ภูมิปัญญาในการดำเนินชีวิต
4. เพื่อให้เข้าใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับภูมิปัญญาในการดำเนินชีวิต
5. เพื่อให้เข้าใจหลักธรรมาภิบาล และการนำไปใช้เพื่อบริหารองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. เพื่อให้เข้าใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
3. เพื่อให้ตระหนักถึงคุณค่า เห็นความสำคัญ ร่วมส่งเสริมอนุรักษ์ภูมิปัญญาในการดำเนินชีวิต
4. เพื่อให้เข้าใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับภูมิปัญญาในการดำเนินชีวิต
5. เพื่อให้เข้าใจหลักธรรมาภิบาล และการนำไปใช้เพื่อบริหารองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. เพื่อปรับปรุงคุณภาพในการจัดการกระบวนการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยฝึกให้นักศึกษาคิด วิเคราะห์
สังเคราะห์โดยผ่านกิจกรรมหรือกรณีศึกษาทีมีความทันสมัยต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน
2.เพื่อให้นักศึกษารู้จักการใช้ชีวิตด้วยความพอเพียงในสังคมเมืองและรู้จักปรับตัวในยุคโลกาภิวัฒน์แห่งการเปลี่ยนแปลงรวมทั้งการนำแนวคิดและวิถีการดำเนินชีวิตของบุคคลต้นแบบไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
อีกทั้งตระหนักถึงความประหยัดและอดออม เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันในการดำเนินชีวิต
สังเคราะห์โดยผ่านกิจกรรมหรือกรณีศึกษาทีมีความทันสมัยต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน
2.เพื่อให้นักศึกษารู้จักการใช้ชีวิตด้วยความพอเพียงในสังคมเมืองและรู้จักปรับตัวในยุคโลกาภิวัฒน์แห่งการเปลี่ยนแปลงรวมทั้งการนำแนวคิดและวิถีการดำเนินชีวิตของบุคคลต้นแบบไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
อีกทั้งตระหนักถึงความประหยัดและอดออม เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันในการดำเนินชีวิต
ศึกษาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการประยุกต์ใช้ หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จปรมินทรมหา
ภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ หลักธรรมาภิบาล ภูมิปัญญา การคิดและการ
บริหารจัดการชีวิตอย่างรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและกระแสสังคมโลก การบูรณาการวัฒนธรรมที่หลากหลายสู่การดำเนินชีวิต การมีจิตสาธารณะและรักษ์สิ่งแวดล้อม การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขบนพื้นฐานคุณธรรม จริยธรรม และหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
ภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ หลักธรรมาภิบาล ภูมิปัญญา การคิดและการ
บริหารจัดการชีวิตอย่างรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและกระแสสังคมโลก การบูรณาการวัฒนธรรมที่หลากหลายสู่การดำเนินชีวิต การมีจิตสาธารณะและรักษ์สิ่งแวดล้อม การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขบนพื้นฐานคุณธรรม จริยธรรม และหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล รายกลุ่มตามเวลาที่นักศึกษาต้องการ(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- ติดต่ออาจารย์ผู้สอนทางอีเมลล์ หรือโทรศัพท์มือถือ
- ติดต่ออาจารย์ผู้สอนทางอีเมลล์ หรือโทรศัพท์มือถือ
พัฒนาผู้เรียนเข้าใจถึงการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในระดับครอบครัว
ระดับชุมชน และระดับรัฐ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวันของตน บนพื้นฐานของทางสายกลางโดยคำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล
การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรมประกอบการวางแผน
การตัดสินใจ และการกระทำ อีกทั้งเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจถึงสภาพปัญหาเศรษฐกิจในปัจจุบัน และ
ทราบถึงวิธีการปรับตัวเพื่อให้สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน และอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข
ระดับชุมชน และระดับรัฐ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวันของตน บนพื้นฐานของทางสายกลางโดยคำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล
การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรมประกอบการวางแผน
การตัดสินใจ และการกระทำ อีกทั้งเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจถึงสภาพปัญหาเศรษฐกิจในปัจจุบัน และ
ทราบถึงวิธีการปรับตัวเพื่อให้สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน และอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข
- บรรยายพร้อมซักถามแนวคิดเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง หลักเศรษฐกิจพอเพียง การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
- อภิปรายกลุ่มเรื่องโครงการตามแนวพระราชดำริ
- อภิปรายกลุ่มเรื่องหมู่บ้านพอเพียง ชุมชนพอเพียง โดยให้ผู้เรียนยกกรณีตัวอย่าง หมู่บ้าน หรือชุมชนที่ประสบความสำเร็จในการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ โดยให้ผู้เรียนวิเคราะห์ความแตกต่างในชุมชนก่อนนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ หมู่บ้าน หรือชุมชนเป็นอย่างไร และหลังนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้แล้วหมู่บ้าน หรือชุมชนเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
- แบ่งกลุ่มทำกิจกรรมในชั้นเรียน เพื่อฝึกการคิดวิเคราะห์ และลงพื้นที่เพื่อปฏิบัติงานเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน และแสดงนิทรรศการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเผยแพร่ผลงานที่ได้ลงพื้นที่ศึกษารวมถึงการได้รับประสบการณ์และองค์ความรู้ในด้านต่างๆ
-ดำเนินการทำการวิจัยในชั้นเรียน และการวิจัยเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อนำมาปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
- ใช้สื่อการสอน เช่น power-point, clip วีดีโอ , วีดีทัศน์ , โฆษณา, สารคดี และอื่น ๆ
- อภิปรายกลุ่มเรื่องโครงการตามแนวพระราชดำริ
- อภิปรายกลุ่มเรื่องหมู่บ้านพอเพียง ชุมชนพอเพียง โดยให้ผู้เรียนยกกรณีตัวอย่าง หมู่บ้าน หรือชุมชนที่ประสบความสำเร็จในการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ โดยให้ผู้เรียนวิเคราะห์ความแตกต่างในชุมชนก่อนนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ หมู่บ้าน หรือชุมชนเป็นอย่างไร และหลังนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้แล้วหมู่บ้าน หรือชุมชนเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
- แบ่งกลุ่มทำกิจกรรมในชั้นเรียน เพื่อฝึกการคิดวิเคราะห์ และลงพื้นที่เพื่อปฏิบัติงานเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน และแสดงนิทรรศการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเผยแพร่ผลงานที่ได้ลงพื้นที่ศึกษารวมถึงการได้รับประสบการณ์และองค์ความรู้ในด้านต่างๆ
-ดำเนินการทำการวิจัยในชั้นเรียน และการวิจัยเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อนำมาปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
- ใช้สื่อการสอน เช่น power-point, clip วีดีโอ , วีดีทัศน์ , โฆษณา, สารคดี และอื่น ๆ
- การเข้าชั้นเรียน
- ส่งงานตามที่กำหนด
- การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
- ประเมินผลจากการวิเคราะห์บุคคลต้นแบบพอเพียง และชุมชนพอเพียง
- ประเมินจากการนำเสนอและอภิปรายหน้าชั้นเรียน โดยใช้สื่อที่เหมาะสม เช่นโปรแกรมPower point วีดีทัศน์ และอื่น ๆ
- ประเมินจากคะแนนสอบกลางภาคและปลายภาค
- ส่งงานตามที่กำหนด
- การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
- ประเมินผลจากการวิเคราะห์บุคคลต้นแบบพอเพียง และชุมชนพอเพียง
- ประเมินจากการนำเสนอและอภิปรายหน้าชั้นเรียน โดยใช้สื่อที่เหมาะสม เช่นโปรแกรมPower point วีดีทัศน์ และอื่น ๆ
- ประเมินจากคะแนนสอบกลางภาคและปลายภาค
- มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
- สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ภูมิปัญญาในการดำเนินชีวิต และ
หลักเศรษฐกิจพอเพียง
- มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในระดับต่างๆ
- ตระหนักและเห็นความสำคัญของการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวันและปรับใช้ให้เหมาะสมกับตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
- สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ภูมิปัญญาในการดำเนินชีวิต และ
หลักเศรษฐกิจพอเพียง
- มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในระดับต่างๆ
- ตระหนักและเห็นความสำคัญของการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวันและปรับใช้ให้เหมาะสมกับตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บรรยาย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอหน้าชั้น การอภิปรายกลุ่ม โดยการปฏิบัติจริง ฝึก
การคิดและวิเคราะห์ โดยมอบหมายให้นักศึกษาต้องติดตามข่าว สารคดี เศรษฐกิจพอเพียงตาม
หัวข้อที่เรียน การใช้ชีวิตในยุคโลกาภิวัติ โดยมุ่งการสอนแบบเน้นนักศึกษาเป็นศูนย์กลางการเรียน
(Student Center) และการเรียนโดยการแก้ปัญหา (Problem base Learning)
การคิดและวิเคราะห์ โดยมอบหมายให้นักศึกษาต้องติดตามข่าว สารคดี เศรษฐกิจพอเพียงตาม
หัวข้อที่เรียน การใช้ชีวิตในยุคโลกาภิวัติ โดยมุ่งการสอนแบบเน้นนักศึกษาเป็นศูนย์กลางการเรียน
(Student Center) และการเรียนโดยการแก้ปัญหา (Problem base Learning)
-ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี และการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศราฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาท้องถิ่น
-ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem– based Learning
-ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem– based Learning
- มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ
- มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
การสอนวิชาวิชาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาในการดำเนินชีวิต ช่วยให้นักศึกษาสามารถดำรงชีวิตของตน บนพื้นฐานของทางสายกลางโดยคำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ และคุณธรรม เป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการวางแผนอย่างเป็นระบบเพื่อการคิดและตัดสินใจ ที่ดีและถูกต้อง สามารถอยู่รวมกับผู้อื่นในสังคมได้ และเพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
การสอนวิชาวิชาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาในการดำเนินชีวิต ช่วยให้นักศึกษาสามารถดำรงชีวิตของตน บนพื้นฐานของทางสายกลางโดยคำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ และคุณธรรม เป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการวางแผนอย่างเป็นระบบเพื่อการคิดและตัดสินใจ ที่ดีและถูกต้อง สามารถอยู่รวมกับผู้อื่นในสังคมได้ และเพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- การบรรยายประกอบสื่อการสอน และการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน
- ให้นักศึกษาทำงานกลุ่มแบ่งหน้าที่กันทำงานและนำเสนอผลงานโดยส่งรูปเล่มรายงานก่อนรายงาน 1 สัปดาห์ และนำเสนอรายงานในรูป Power point
- ให้นักศึกษาดู Clip แล้วร่วมวิพากษ์วิเคราะห์เชิงสร้างสรรค์
- ให้นักศึกษาทำงานกลุ่มแบ่งหน้าที่กันทำงานและนำเสนอผลงานโดยส่งรูปเล่มรายงานก่อนรายงาน 1 สัปดาห์ และนำเสนอรายงานในรูป Power point
- ให้นักศึกษาดู Clip แล้วร่วมวิพากษ์วิเคราะห์เชิงสร้างสรรค์
- การทำงานเป็นทีมและการมีส่วนร่วมของนักศึกษา
- รูปเล่มรายงาน ถูกต้องตามระบบการเขียนรายงาน เนื้อหาครบถ้วน
- สอบกลางภาคและการสอบปลายภาค
- รูปเล่มรายงาน ถูกต้องตามระบบการเขียนรายงาน เนื้อหาครบถ้วน
- สอบกลางภาคและการสอบปลายภาค
-สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาพัฒนาตนเองและช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- พัฒนาทักษะการพึ่งพาตนเอง การมีน้ำใจต่อผู้อื่นในสังคม และการเคารพสิทธิของผู้อื่น
- พัฒนาทักษะความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม
- พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม จรรยาวิชาชีพ ระเบียบวินัยในชีวิตและสังคม
- พัฒนาทักษะการพึ่งพาตนเอง การมีน้ำใจต่อผู้อื่นในสังคม และการเคารพสิทธิของผู้อื่น
- พัฒนาทักษะความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม
- พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม จรรยาวิชาชีพ ระเบียบวินัยในชีวิตและสังคม
- จัดการสอนแบบกิจกรรมกลุ่ม
- กำหนดปฏิทินเวลานำเสนอ
- ผู้สอนและนักศึกษาช่วยกันเสริมเนื้อหาให้ครบถ้วน โดยใช้ power point ของผู้สอนสรุป เพื่อเพิ่มเนื้อหาให้ครอบคลุม
- กำหนดปฏิทินเวลานำเสนอ
- ผู้สอนและนักศึกษาช่วยกันเสริมเนื้อหาให้ครบถ้วน โดยใช้ power point ของผู้สอนสรุป เพื่อเพิ่มเนื้อหาให้ครอบคลุม
-.ให้นักศึกษาช่วยกันประเมินตามแบบประเมินการนำเสนอ
- อาจารย์ประเมินตามรูปแบบการนำเสนองานของนักศึกษา
- สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนร่วมของผู้เรียน
- แบบฝึกหัด
- อาจารย์ประเมินตามรูปแบบการนำเสนองานของนักศึกษา
- สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนร่วมของผู้เรียน
- แบบฝึกหัด
- พัฒนาทักษะการใช้ Internet โดยการสืบค้นข้อมูลจาก Website
- พัฒนาทักษะการเลือกรับข้อมูลข่าวสารจากแหล่งสืบค้นต่าง ๆ โดยเฉพาะการใช้สื่อจาก
Internet
- พัฒนาทักษะการเลือกรับข้อมูลข่าวสารจากแหล่งสืบค้นต่าง ๆ โดยเฉพาะการใช้สื่อจาก
Internet
- ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเนื้อหาเพิ่มเติมจาก Website หรือสื่ออื่น ๆ เช่น CD, VCD, วีดีทัศน์, เทปเสียง และสารคดี
- การนำเสนอรายงานทุกครั้งให้ใช้ Computer และ Power point และ/หรือ Clip
- ศึกษาดูงานในพื้นที่ประสบผลสำเร็จ แล้วนำมาวิเคราะห์
- การนำเสนอรายงานทุกครั้งให้ใช้ Computer และ Power point และ/หรือ Clip
- ศึกษาดูงานในพื้นที่ประสบผลสำเร็จ แล้วนำมาวิเคราะห์
- ประเมินผลจากรูปแบบการนำเสนอและการรายงานผลการศึกษา การสืบค้นข้อมูล
- สังเกตการแสดงความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมในการอภิปรายกลุ่มจากกรณีศึกษาหนังสั้นและคลิปวิดีโอ
- สังเกตการแสดงความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมในการอภิปรายกลุ่มจากกรณีศึกษาหนังสั้นและคลิปวิดีโอ
-
-
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1 , 3.1 | สอบกลางภาค | 8 | 25% |
2 | 2.1 , 3.1 | สอบปลายภาค | 17 | 25% |
3 | 1.3, 2.3, 3.3, 4.3, 5.3 | - การเข้าชั้นเรียน - การซักถาม - การตอบคำถาม - การตั้งใจเรียน - การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม - การแสดงความคิดเห็น - ความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
4 | 1.3, 3.3 3.3, 4.3 1.3,3.3, 4.3 | การจัดโครงการ นิทรรศการ การโต้วาที การศึกษาบุคคล/ชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง | ตลอดภาคการศึกษา | 40% |
- เอกสารประกอบการสอน รายวิชา “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” คณาจารย์แผนกสังคมศาสตร์ สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
-สรรเสริญ วงศ์ชอุ่ม.เศรษฐกิจพอเพียง: พื้นฐานสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน, กรุงเทพฯ: เพชรรุ่งการพิมพ์, 2544.154 หน้า.
-สุนัย เศรษฐ์บุญสร้าง.แนวทางปฏิบัติ 7 ขั้น สู่วิถีเศรษฐกิจพอเพียง.กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2550.320หน้า.
-อุดมพร อมรธรรม.ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงพระเจ้าอยู่หัว,กรุงเทพฯ: แสงดาว, 2549.136 หน้า.
-ภานุ พรปรีดา.ชีวิตพอเพียง เสบียงตลอดชีพ,กรุงเทพฯ:มายิก สำนักพิมพ์.222 หน้า.
-สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.เศรษฐกิจพอเพียง นำสู่สงคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน.กรุงเทพฯ: ยูเนียนอุลตร้าไวโอเร็ต, 2540.197 หน้า.
-จรัญ จันทลักขณา.ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับความสุขมวลชนและการเกษตรยั่งยืน.กรุงเทพฯ:เสริมมิตร, 2549.137หน้า
-สุนทร กุลวัฒนาวรพงศ์.ตามรอยพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง-ทฤษฎีใหม่.กรุงเทพฯ:สุวีริยาสาส์น,2544.192หน้า
-กระทรวงศึกษาธิการ.ทฤษฏีใหม่ในหลวงชีวิตที่พอเพียง.กรุงเทพฯ: ร่วมด้วยช่วยกัน2542.277หน้า.
-ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ .สอนเด็กให้มีจิตสาธารณะ.กรุงเทพฯ: วีพริ้น(1991),2552.176หน้า.- เว็บไซด์โครงการวิจัยเศรษฐกิจพอเพียง http://www.sufficiencyeconomy.org
-สุนัย เศรษฐ์บุญสร้าง.แนวทางปฏิบัติ 7 ขั้น สู่วิถีเศรษฐกิจพอเพียง.กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2550.320หน้า.
-อุดมพร อมรธรรม.ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงพระเจ้าอยู่หัว,กรุงเทพฯ: แสงดาว, 2549.136 หน้า.
-ภานุ พรปรีดา.ชีวิตพอเพียง เสบียงตลอดชีพ,กรุงเทพฯ:มายิก สำนักพิมพ์.222 หน้า.
-สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.เศรษฐกิจพอเพียง นำสู่สงคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน.กรุงเทพฯ: ยูเนียนอุลตร้าไวโอเร็ต, 2540.197 หน้า.
-จรัญ จันทลักขณา.ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับความสุขมวลชนและการเกษตรยั่งยืน.กรุงเทพฯ:เสริมมิตร, 2549.137หน้า
-สุนทร กุลวัฒนาวรพงศ์.ตามรอยพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง-ทฤษฎีใหม่.กรุงเทพฯ:สุวีริยาสาส์น,2544.192หน้า
-กระทรวงศึกษาธิการ.ทฤษฏีใหม่ในหลวงชีวิตที่พอเพียง.กรุงเทพฯ: ร่วมด้วยช่วยกัน2542.277หน้า.
-ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ .สอนเด็กให้มีจิตสาธารณะ.กรุงเทพฯ: วีพริ้น(1991),2552.176หน้า.- เว็บไซด์โครงการวิจัยเศรษฐกิจพอเพียง http://www.sufficiencyeconomy.org
- เว็บไซด์สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ http://www.nesdb.go.th
-เว็บไซด์ SOCIAL SCIENCE โดย ผศ.สุภวรรณ พันธุ์จันทร์ http://www.socialcience.igetweb.com
-เว็บไซด์ SOCIAL SCIENCE โดย ผศ.สุภวรรณ พันธุ์จันทร์ http://www.socialcience.igetweb.com
การประเมินผลรายวิชานี้จัดทำโดยนักศึกษา
-นักศึกษาเป็นผู้ทำแบบประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา วิธีการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใช้สื่อสนับสนุนการเรียนการสอน และการให้ข้อเสนอแนะของนักศึกษา โดยนักศึกษาประเมินผ่านทางระบบอินเตอร์เนตของมหาวิทยาลัย
-นักศึกษาเป็นผู้เสนอแนะกิจกรรมในการเรียนการสอน
- นักศึกษาประเมินความพึงพอใจในกิจกรรมต่างๆที่สอดแทรกในบทเรียน
-นักศึกษาเป็นผู้ทำแบบประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา วิธีการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใช้สื่อสนับสนุนการเรียนการสอน และการให้ข้อเสนอแนะของนักศึกษา โดยนักศึกษาประเมินผ่านทางระบบอินเตอร์เนตของมหาวิทยาลัย
-นักศึกษาเป็นผู้เสนอแนะกิจกรรมในการเรียนการสอน
- นักศึกษาประเมินความพึงพอใจในกิจกรรมต่างๆที่สอดแทรกในบทเรียน
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน มีกลยุทธ์ดังนี้
-สังเกตจากการมีส่วนร่วมในการเรียน การอภิปราย และการวิเคราะห์กรณีศึกษา
-ประเมินจากผลการนำเสนอผลงานโครงการและนิทรรศการ
- ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
-สังเกตจากการมีส่วนร่วมในการเรียน การอภิปราย และการวิเคราะห์กรณีศึกษา
-ประเมินจากผลการนำเสนอผลงานโครงการและนิทรรศการ
- ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
การปรับปรุงการสอนวิชานี้คือ
-ปรับเอกสาร-สื่อประกอบการสอน และกรณีศึกษาให้มีความทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน
-ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมจาก ตำรา และแหล่งข้อมูลที่หลากหลายจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
-สนับสนุนการทำวิจัยในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ
- จัดประชุมหารือคณาจารย์ผู้สอน เพื่อร่วมกันวางแผนและพัฒนาการเรียนการสอน ให้มีความทันสมัยมากยิ่งขึ้น
- นำผลการประเมินที่ได้จากนักศึกษามาปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนให้ดียิ่งขึ้น
-ปรับเอกสาร-สื่อประกอบการสอน และกรณีศึกษาให้มีความทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน
-ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมจาก ตำรา และแหล่งข้อมูลที่หลากหลายจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
-สนับสนุนการทำวิจัยในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ
- จัดประชุมหารือคณาจารย์ผู้สอน เพื่อร่วมกันวางแผนและพัฒนาการเรียนการสอน ให้มีความทันสมัยมากยิ่งขึ้น
- นำผลการประเมินที่ได้จากนักศึกษามาปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนให้ดียิ่งขึ้น
- ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการตรวจการบันทึกรายรับรายจ่าย บันทึกพอเพียง และการจัดทำโครงการ/นิทรรศการ
ผู้สอนตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละคนว่าพัฒนาก้าวหน้าอย่างไร โดยแจ้งผลคะแนนเป็นระยะ
อย่างต่อเนื่อง
ผู้สอนตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละคนว่าพัฒนาก้าวหน้าอย่างไร โดยแจ้งผลคะแนนเป็นระยะ
อย่างต่อเนื่อง
-วิชานี้ต้องปรับปรุงเนื้อหาทุก 2 ปี
-เชิญวิทยากรผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบความสำเร็จด้านเศรษฐกิจพอเพียง มาถ่ายทอดประสบการณ์ให้กับนักศึกษา และพานักศึกษาออกไปทัศนศึกษาประสบการจริงจากการนำปรัชญาของเศรษบ
-เชิญวิทยากรผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบความสำเร็จด้านเศรษฐกิจพอเพียง มาถ่ายทอดประสบการณ์ให้กับนักศึกษา และพานักศึกษาออกไปทัศนศึกษาประสบการจริงจากการนำปรัชญาของเศรษบ