จิตรกรรมฝาผนัง

Mural Painting

1. เข้าใจกระบวนการถ่ายทอดรูปแบบงานจิตรกรรรมฝาผนังในประเทศไทย
2. เข้าใจเทคนิควิธีการในการเขียนภาพจิตรกรรรมฝาผนังในประเทศไทย
3. มีทักษะในการคัดลอกและศึกษาภาพจิตรกรรรมฝาผนังในประเทศไทย
4. เห็นคุณค่าในการถ่ายทอดงานจิตรกรรรมฝาผนังในประเทศไทย
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชา จิตรกรรมฝาผนังสำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ ซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับทักษะในการคัดลอกและสร้างงานจิตรกรรมฝาผนัง โดยการความรู้ความสามารถจากความเข้าใจในงานจิตรกรรมฝาผนังมาใช้ในการพัฒนาผลงานต่อไป
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้างจิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทย ทั้งทางด้านรูปแบบ เนื้อหา วิธีการของงานจิตรกรรมฝาผนังแต่ละยุคสมัย
อาจารย์ผู้สอนจะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน จำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
จิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งจรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา สอนให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม

 
การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
1. มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา

สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
วิธีการสอน บรรยาย อภิปราย ทำงาน นำเสนอรายงาน วิเคราะห์ สรุปผล
วิธีการประเมินผล ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินผลงาน/รายงาน
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
วิธีการสอน บรรยาย อภิปราย ทำรายงานโดยการศึกษาเรียนรู้จากจิตรกรรมฝาผนัง
วิธีการประเมินผล ประเมินผลงาน/รายงาน
1. มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
วิธีการสอน จัดกิจกรรมมอบหมายรายงาน รายงานความก้าวหน้าของงาน
วิธีการประเมินผล ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินผลงาน/รายงาน
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
วิธีการสอน ค้นคว้าหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต วิเคราะห์ข้อมูล
วิธีการประเมินผล ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินผลงาน/รายงาน
1. มีทักษะในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ในการสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย
2. มีทักษะในการร่างและทำต้นแบบผลงานตามที่แต่ละบุคคลถนัดได้

สามารถสร้างสรรค์ผลงาน โดยใช้เทคนิคต่างๆได้อย่างเหมาะสม

4. สามารถวิเคราะห์ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงาน

มีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงานที่แสดงเอกลักษณ์เฉพาะตนได้อย่างชัดเจน
วิธีการสอน สร้างเจตคติที่ดีต่อการฝึกปฏิบัติ
วิธีการประเมินผล ทดสอบจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม . ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะ ทาง ปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1. มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 1. มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. มีทักษะในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ในการสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย 2. มีทักษะในการร่างและทำต้นแบบผลงานตามที่แต่ละบุคคลถนัดได้ 3. สามารถสร้างสรรค์ผลงาน โดยใช้เทคนิคต่างๆได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถวิเคราะห์ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงาน 5. มีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงานที่แสดงเอกลักษณ์เฉพาะตนได้อย่างชัดเจน
1 41000031 จิตรกรรมฝาผนัง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรมและจริยธรรม - ประเมินจากการมีวินัยในการเข้าชั้นเรียน การเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ความรับผิด ชอบส่งงานตามกำหนด และมีความรับผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย 1-17 10%
2 ด้านความรู้ ประเมินจากการทดสอบแต่ละหน่วยเรียน การสอบกลางภาค การสอบปลายภาคเรียน และผลงานที่ปฏิบัติ 1,,3,5,7,9,12,16,17 40%
3 ด้านปัญญา ประเมินจากเอกสารกระบวนการสร้างสรรค์ในแต่ละหน่วยเรียน 1,3,5,7,12,16 10%
4 ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ - ประเมินจากรายงานที่มอบหมาย 1,3,5,7,12,16 5%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ประเมินจากการสืบค้นข้อมูลจากสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1,3,5,7,12,16 5%
6 ด้านทักษะพิสัย ประเมินจากผลงานคัดลอกตามหน่วยเรียนและผลงานการสร้างสรรค์ โดยสามารถสร้างสรรค์ผลงาน ได้อย่างเหมาะสม 1-8,10-16 30%
หนังสือจิตรกรรมฝาผนังไทย
- ชลูด นิ่มเสมอ การเข้าถึงศิลปะในงานจิตรกรรมไทย กรุงเทพฯ, บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊พ จำกัด, 2532. 116 หน้า ISBN-974-8359-02-6
-น.ณ ปากน้ำ. จิตรกรรมฝาผนังหนึ่งในสยาม. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2544.
-________. ชุดจิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทย. Mural Paintings of Thailand Series. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ , 2526.
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับจิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทย.
- วารสาร ศิลปะทั้งในและต่างประเทศ เช่น ศิลปวัฒนธรรม วารสารจากสถาบันต่างๆ
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับจิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทย.
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การศึกษากระบวนการเรียนการสอนภายในและนอกชั้นเรียน
- การสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา
- ทวนสอบจากคะแนนงานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
- ตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการศึกษา
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4