ปฏิบัติการหลักเคมี 1

Principles of Chemistry Laboratory 1

1. รู้จักอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติการทางเคมี 2. มีทักษะในการใช้อุปกรณ์ และเครื่องมือในการปฏิบัติการทางเคมี 3. มีทักษะในการทดสอบสมบัติของธาตุและไอออน สารประกอบไออนิกและสารประกอบโคเวเลนต์ สารละลาย กรด เบส เกลือปฏิกิริยาเคมีและไฟฟ้าเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุลเคมี สารประกอบไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์ 4. พัฒนาทักษะและจิตพิสัยในการปฏิบัติงานด้านการทดลองที่เป็นระบบ 5. พัฒนาเจตคติที่ดีต่อการแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและฝึกทักษะปฏิบัติทางเคมีมากขึ้น
2. นักศึกษานำความรู้และทักษะปฏิบัติไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง
3. เพื่อให้เนื้อหาสมบูรณ์สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน
ปฏิบัติการเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานด้านอุปกรณ์และเครื่องมือวัดทางเคมี สมบัติของธาตุและไอออน   สารประกอบไอออนิกและสารประกอบโคเวเลนต์  สารละลาย กรด-เบสและเกลือ  ปฏิกิริยาเคมีและไฟฟ้าเคมี  อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี  สมดุลเคมีสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์
1.30 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2  มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- ผู้สอนกระทำตนเป็นแบบอย่างในการมีวินัย ขยัน ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ
- ตรวจความเรียบร้อยของการแต่งกาย
- ให้โอกาสนักศึกษาในการเสนอความคิดเห็นอย่างเท่าเทียมกัน
- ส่งเสริมการทำกิจกรรมกลุ่มที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม (ทำผลิตภัณฑ์ในครัวเรือนเป็นกลุ่ม)
- ประเมินจากความเรียบร้อยของเครื่องแต่งกาย
- ประเมินจากการเข้าชั้นเรียน
- ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายคือให้ผลิต ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในครัวเรือนกลุ่มละ 1 อย่าง
2.1 มีความรู้และความเข้าใจหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
การสอนแบบให้ผู้เรียนปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ 
1 การนำเสนอผลการทดลอง
2 ข้อสอบอัตนัย
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2   มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การสอนแบบให้ผู้เรียนปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ 
1.ประเมินจากการเขียน Flowchart ก่อนการทดลอง
2. ประเมินจากการเขียนรายงานการทดลอง
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
การสอนแบบให้ผู้เรียนปฏิบัติในห้องปฏิบัติการเป็นกลุ่ม 
1 ประเมินจากการวางแผนการทดลองร่วมกัน
2 สังเกตจากความร่วมมือในการทำการทดลอง
3 สังเกตจากความร่วมมือในการล้างและเก็บอุปกรณ์
5.1  สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3  สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
นำเสนอผลงานมอบหมาย โดย สืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนอผลงานมอบหมายที่สามารถหาข้อมูลจากเว็ปไซต์
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรม(Ethics and Moral) ด้านความรู้(Knowledge) ด้านทักษะทางปัญญา(Cognitive Skills) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal Skills and Responsibility) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 22021102 ปฏิบัติการหลักเคมี 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 10 10
2 3.1 4.3 5.2 การทำงานกลุ่มและผลงาน การนำเสนอผลงานที่มีการสืบค้นอย่างถูกต้อง การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 60 10
3 1.3 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย ตลอดภาคการศึกษา 10
1) ทบวงมหาวิทยาลัย เคมี เล่ม 1-2, สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ 2540
2) ชัยวัฒน์ เจนวาณิชย์หลักเคมีเล่ม 1-2, สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ 2541
3) ทบวงมหาวิทยาลัย เคมี เล่ม 1-2, สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ 2540
4) ชัยวัฒน์ เจนวาณิชย์หลักเคมีเล่ม 1-2, สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ 2541
5) กฤษณาชุติมาหลักเคมีทั่วไปเล่ม 1, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ 2539.
6) กฤษณาชุติมาหลักเคมีทั่วไปเล่ม 2. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ 2539.
7) ประเสริฐศรีไพโรจน์เคมีพื้นฐานเล่ม 1, สุพีเรียพริ้นติ้งเฮาส์, กรุงเทพฯ 2545.
8) วิโรจน์ปิยวัชรพันธุ์เคมีทั่วไป 1, โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ 2541.
9) ลัดดามีศุขเคมีทั่วไปเล่ม 1 ฉบับรวบรัด, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ 2545.
10) สุนันทาวิบูลย์จันทร์เคมี: วิชาแกนทางวิทยาศาสตร์, เพียร์สันเอ็ดดูเคชั่นอินโดไชน่า,
กรุงเทพฯ 2545.
11)โครงการตำรา.ปฏิบัติการเคมีทั่วไป เล่ม1.ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2539.
12) โครงการตำรา.  ปฏิบัติการเคมีทั่วไป เล่ม2.ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2539.
13) พรทิพย์  ศัพทอนันต์. ปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์.คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
14) สุภาพ  บุณยะรัตเวชและคณะ.  ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์.สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2536.
1) P. W. Atkins Physical Chemistry 5th ed. OxfordUniversity Press, Oxford 1994.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของผู้ร่วมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษาจากผู้สอน
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้โดยกรรมการทบทวนเกรด
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 มีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดประชุมเพื่อปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนหรือทำการวิจัย
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา เช่น การสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา หรือผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 2 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ที่หลากหลาย