การศึกษาดูงานทางการออกแบบอุตสาหกรรม

Technical Visit on Industrial Design

1.1 ดูงานด้านออกแบบอุตสาหกรรมทั้งในจังหวัดและต่างจังหวัด
1.2 เข้าใจวิธีการบันทึกสิ่งที่มองเห็นจากการศึกษาดูงานออกแบบอุตสาหกรรม
1.3 เข้าใจวิธีการทำรายงานและการนำเสนอโครงงานที่ได้จากการศึกษาดูงาน
1.4 มีทักษะในการเขียนบันทึกและทำรายงานรวมถึงการเสนอโครงงานที่จะนำมาพัฒนาด้านงานออกแบบอุตสาหกรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ต่อยอดจากการศึกษาดูงานนอกสถานที่ด้านการออกแบบอุตสาหกรรมสามารถทำงานติดต่อ มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นได้ดี มีความสามารถในการการเขียนบันทึกและท ารายงานรวมถึงการเสนอโครงงานที่จะนำมาพัฒนาด้านการออกแบบอุตสาหกรรมสามารถนำประสบการณ์ที่ได้จากการศึกษาดูงานไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนในวิชาชีพได้เป็นอย่างดีรวมถึงการเตรียมพร้อมที่จะเป็นนักออกแบบให้กับองค์กรที่นักศึกษาเข้าไปฝึกงานในชั้นปีต่อไป
     เสริมสร้างประสบการณ์ด้านการออกแบบของนักศึกษาให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดย ศึกษาดูงานในสถานประกอบการและโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ นักศึกษาจะได้ มีโอกาสศึกษาและแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นกับนักออกแบบหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

     Students  will  participate  in  several  field  trips  toa  variety  of  industrial companies  and  factories,  with  the  goal  of  exchanging  opinions  with  designers  and  related people within the industry.
- อาจารย์ประจำรายวิชา  แจ้งให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์ ทางไลน์ทาง email address ของอาจารย์ผู้สอน .
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการของผู้เรียน
1.1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนานักศึกษาต้องมีความตระหนักในคุณธรรม จริยธรรม และซื่อสัตย์สุจริต  เพื่อให้สามารถด าเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม ผู้พัฒนาจำเป็นต้องมีความรับผิดชอบต่อผลที่เกิดขึ้นเช่นเดียวกับการประกอบอาชีพในสาขาอื่นๆ อาจารย์ที่สอนในแต่ละวิชาต้องพยายามสอดแทรกเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งต่อไปนี้ทั้ง 4 ข้อเพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่างๆที่ศึกษารวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติด้านคุณธรรมจริยธรรมอย่างน้อย 4 ข้อตามที่ระบุไว้มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อมเคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางใช้วิธีการสอนแบบ active learning มีกิจกรรมในชั้นเรียนและจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการภายในประเทศผู้เรียนนำเสนองานที่ได้รับมอบหมายหน้าชั้นเรียนฝึกปฏิบัติให้มีการสังเกต การฟัง และการบันทึกสิ่งที่มองเห็น ข้อมูลความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาดูงาน หรือ ประสบการณ์ตรงที่ได้ระหว่างการศึกษาดูงาน 
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามใบงานที่ให้และตรงเวลา 1.3.2 การเข้าร่วมศึกษาดูงาน การบันทึกข้อมูลระหว่างการศึกษาดูงาน 1.3.3 ประเมินผลงานตามที่ได้รับมอบหมายและการนำเสนอในชั้นเรียน 1.3.4 ผู้เรียนประเมินผลตนเองและ ประเมินอาจารย์ผู้สอน 
นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับประสบการณ์ที่เห็นจากการทำงาน เครื่องมือ เครื่องจักร การจัดแสดงผลงาน โลกทัศน์ เทคนิคในการทำงาน การแก้ปัญหา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของนักออกแบบในสถานประกอบการ
อาจารย์ผู้สอนพิจารณาสถานประกอบการภายในประเทศแล้วติดต่อประสานงานเพื่อให้นักศึกษาไปศึกษาดูงาน บันทึกข้อมูลรวมทั้งให้นักศึกษานำเสนอผลการศึกษาดูงาน ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเอง พัฒนาสถานศึกษานักศึกษาได้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเดินทางและการสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม 
2.3.1 ประเมินผลจากแบบบันทึกที่มอบหมายและประเมินจากการนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน 2.3.2 ผู้เรียนประเมินตนเองและประเมินผลงานการสอนของอาจารย์
พัฒนาความสามารถในการสร้างกรอบคิดในการนำเสนอ Project ความสามารถในการสืบค้นเอกสารการวางแผนงาน การปฏิบัติตัวมารยาททางสังคม การปฏิบัติตามกฎระเบียบในขณะเข้าศึกษาดูงาน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับผู้ประกอบการ การสร้างเครือข่ายความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ในการเรียน จากสื่อออนไลน์ที่ผู้สอนจัดทำ และการส่งงาน
3.2.1 บรรยาย และให้โอกาสผู้เรียนได้ใช้เทคโนโลยีเรียนรู้ด้วยตนเอง วางแผนการเรียนและการประเมินผลการเรียน การตรวจสอบผลการเรียนด้วยตนเอง 3.2.2 การมอบหมายให้ผู้เรียนวิเคราะห์และสังเคราะห์วางแผนการศึกษาดูงาน วิธีการบันทึกที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาหลักสูตร 3.2.3 มอบหมายให้ผู้เรียนฝึกสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ แล้วนำมาวิเคราะห์สังเคราะห์ การบันทึก การสังเกต การปฏิบัติตัวมารยาททางสังคม การปฏิบัติตามกฎระเบียบในขณะเข้าศึกษาดูงาน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับผู้ประกอบการ 3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการศึกษาดูงานเป็นการทำรายงาน การนำเสนอโปรเจคที่เป็นประโยชน์ต่อหลักสูตร ต่อตัวนักศึกษา และต่อสถานประกอบการ
3.3.1 วัดผลจากการคะแนนงานปฏิบัติและการนำเสนอผลงาน 3.3.2 สังเกตพฤติกรรมการเรียนทั้งเรียนในชั้นเรียนและขณะศึกษาดูงาน
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกันและระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน 4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้พูดและผู้ฟัง 4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบขณะเดินทางศึกษาดูงานและส่งงานตามที่มอบหมาย
4.1.4 พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีในการเรียน  การส่งงาน มีความซื่อสัตย์ในการปฏิบัติงาน
4.2.1 ให้ผู้เรียนปฏิบัติการบันทึกในขณะศึกษาดูงาน ตามหัวข้อที่กำหนด และนำเสนอในชั้นเรียน 4.2.2 มอบหมายงานรายบุคคล เช่น เขียนความคาดหวังของนักศึกษาที่ต้องการได้รับจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการ ภายในจังหวัดเชียงใหม่ และต่างจังหวัด 4.2.3 นำเสนอสรุปผลรายงานที่มีประโยชน์ต่อตนเอง ต่อสถานประกอบการ และ ต่อหลักสูตร
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน (กิจกรรมรายบุคคล และ กิจกรรมกลุ่ม) 4.3.2 ประเมินจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย 4.3.3 ประเมินจากนำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.1.1 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง   5.1.2 พัฒนาทักษะในการเรียนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของมหาวิทยาลัย 5.1.3 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การติดต่อสื่อสารกันระหว่างศึกษาดูงาน Scan และ Upload ส่งงานทางอินเทอร์เน็ต การสนทนาในไลน์ ในอีเมล์ 5.1.4 ทักษะในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
5.2.1 กิจกรรมActive learningกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ปฏิบัติตามหน่วยเรียน 5.2.2 นักศึกษาทำงานตามใบงานที่มอบหมาย 5.2.3 นำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมายในชั้นเรียน 5.2.4 มอบหมายให้ส่งผลงานเป็นอิเล็กทรอนิกส์ไฟล์ทาง Google Classroom
5.3.1 ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติตามใบงานที่มอบหมาย 5.3.2 ประเมินจากการนำเสนอ 5.3.3 ประเมินจากการเข้าร่วมศึกษาดูงานความรับผิดชอบตัวเองขณะศึกษาดูงาน การเป็นผู้ฟังที่ดี
มีทักษะพิสัยในการปฏิบัติด้านการเขียนบันทึกในขณะศึกษาดูงานและจัดทำรายงานหลังจากศึกษาดูงานโดยประเมินจากผลงานปฏิบัติที่ได้รับมอบหมาย ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบวิธีการนำเสนองาน
ใช้วิธีสอนแบบ active learning ให้นักศึกษาร่วมวางแผนการเดินทาง การเลือกสถานประกอบการ การขอความอนุเคราะห์จากสถานประกอบการ การบันทึกข้อมูลระหว่างศึกษาดูงานการนำเสนอและร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากผลงานปฏิบัติของนักศึกษาที่มอบหมายและแนวคิดในการนำเสนอโครงงานที่เป็นประโยชน์หลังจากการฝึกงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มอบหมายให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม ฝึกความรับผิดชอบ, สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ,จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง, กำหนดข้อตกลงร่วมกันในด้านความตรงต่อเวลา การเรียนการสอนแบบ active learning, การเรียนรู้จากโจทย์ปัญหา, การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง, การเรียนรู้แบบแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง อภิปรายกลุ่ม กรณีศึกษา การศึกษาในห้องปฏิบัติการ ฯลฯ, ค้นคว้าด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง, ฝึกปฏิบัติงานจริง-มอบหมายงาน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการทำงานเป็นกลุ่ม และงานที่ต้องมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เน้นการฝึกทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน ในระหว่างผู้เรียน ผู้สอน และผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ, จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่หลากหลายและเหมาะสม ฝึกปฏิบัติงาน, การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง, การเรียนรู้จากการสอนในห้องปฏิบัติการ, การสอนบรรยาย
1 BAAID115 การศึกษาดูงานทางการออกแบบอุตสาหกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1, 3, 4, 5, 6 ทดสอบย่อย ครั้งที่ 1, 2 ทดสอบปลายภาคเรียน 4, 5, 7 20% 20% 40%
2 2, 3, 4, 5 รายงานและนำเสนองานที่มอบหมาย (Oral Presentation) 7 10%
3 1, 2, 3, 4, 5 การเข้าชั้นเรียนและพฤติกรรมระหว่างเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
Allan Wooddrow, 2018. Field tripped. Scholatic Press. 
Ronald V. Morris, 2014. The Field trip book. Information Age publishing. 
แบบบันทึก สาหรับศึกษาดูงาน 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเมล์และเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา 
 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 
2.1 การสังเกตผู้เรียนขณะทำกิจกรรมศึกษาดูงาน 
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา การส่งงานการนำเสนองาน 
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสัมภาษณ์นักศึกษา หรือการตอบแบบสอบถามของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบหลังการออกผลการเรียนรายวิชา 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 
5.1 ปรับปรุงแผนการสอน และเนื้อหาให้ทันสมัย 
5.2 ปรับปรุงรูปแบบการสอน ให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21