การจัดการเชิงกลยุทธ์
Strategic Management
ทราบถึงแนวคิดในการจัดการเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ
ทราบถึงกระบวนการวางแผนกลยุทธ์
เข้าใจถึงการกำหนดกลยุทธ์ในระดับต่างๆ ขององค์การ
เข้าใจถึงการนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ และการควบคุมกลยุทธ์
รู้ถึงแนวทางการจัดการเชิงกลยุทธ์ที่ทันสมัย โดยใช้กรณีศึกษาประกอบการศึกษา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานด้านการจัดการเชิงกลยุทธ์ เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจในด้านการจัดการเชิงกลยุทธ์ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนรายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ยังได้มีการปรับปรุงเนื้อหา และตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับการบริหารจัดการในยุคปัจจุบัน
ศึกษาแนวคิดในการจัดการเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ กระบวนการวางแผนกลยุทธ์ การกำหนดกลยุทธ์ในระดับต่าง ๆ ขององค์การ การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ และการควบคุมกลยุทธ์ รวมถึงแนวทางการจัดการเชิง กลยุทธ์ที่ทันสมัย โดยกรณีศึกษาประกอบการศึกษา
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
○
1.1
มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและผู้อื่น ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่นและมีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม
○
1.4
มีความเคารพต่อกฎ ระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
○
2.1
ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัย โดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
○
2.3
จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เกิดจิตสำนึกในการมีคุณธรรม จริยธรรม
○
2.4
ให้การยกย่องชมเชยผู้ที่มีความซื่อสัตย์ เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดี
○
2.5
กำหนดระเบียบลงโทษผู้ทุจริตในการสอบ
○
2.6
มีกิจกรรมที่ส่งเสริมในเรื่องความเสียสละเพื่อส่วนรวม และบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม
○
3.1
ประเมินจากเวลาการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา และเวลาการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
○
3.2
ประเมินจากผลงานกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
○
3.3
จำนวนการเข้าร่วมกิจกรรมการบำเพ็ญประโยชน์ หรือกิจกรรมสาธารณประโยชน์ต่างๆ
○
3.4
ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้ำใจต่อเพื่อนและครูอาจารย์
○
2.1
มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการเรียนด้านบริหารธุรกิจ ที่ครอบคลุมทั้งการบัญชี เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ ศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
●
2.2
มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจ ทางการตลาด การเงิน การผลิตและการดำเนินงาน รวมทั้งการจัดองค์การและทรัพยากรมนุษย์
●
2.3
มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การควบคุมและการประเมินผลดำเนินงานรวมทั้งการปรับปรุงแผน
○
2.4
มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน
○
2.1
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
○
2.2
จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษ
○
2.3
จัดการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
●
3.1
การทดสอบย่อย
●
3.2
การสอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน
●
3.3
ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
●
3.4
ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
○
3.2
สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา และตัดสินใจอย่างเหมาะสม
●
3.3
สามารถคิดค้นทางเลือกใหม่ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน โดยการนำความรู้และประสบการณ์ประยุกต์ใช้
○
3.4
มีความกล้าในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์
○
2.1
กรณีศึกษาทางการจัดการ โครงงาน งานวิจัย และกำหนดให้นักศึกษาวางแผนการทำงานเป็นทีม
○
2.2
ใช้สถานประกอบการฝึกปฏิบัติงานจริง
○
2.3
มีการอภิปรายเพื่อสรุปประเด็นผลการศึกษา และปัญหาที่เกิดขึ้น รวมทั้งการเสนอแนวทางการแก้ไข
○
2.4
เน้นถึงศาสตร์และศิลป์ รวมทั้งรูปแบบในการนำเสนอผลงาน และให้นักศึกษาได้มีการนำเสนอผลงานจริง
●
3.2
ประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหา โดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมา ซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา
○
4.1
มีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษยสัมพันธ์ และสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา
○
4.2
มีความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม การประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความเป็นผู้นำที่มีความรับผิดชอบ
○
4.3
มีความกระตือรือร้นและความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อี่นอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งมีความเป็นผู้ตามในจังหวะที่เหมาะสม
○
2.1
มอบหมายงานที่ต้องใช้การติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา
○
2.2
มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสารระหว่างบุคคลทั้งภายในสถาบันการศึกษาและภายนอกสถาบันการศึกษา
○
2.3
มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน
○
2.4
มีกิจกรรมส่งเสริมมนุษยสัมพันธ์ เช่น ยกย่องชมเชยนักศึกษาที่มีมนุษยสัมพันธ์ดีเด่น
○
3.1
ประเมินจากพฤติกรรมในการทำกิจกรรมระหว่างนักศึกษาในกลุ่ม
○
3.2
ประเมินจากผลงานนักศึกษาทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
○
3.3
มีการร่วมประเมินทั้งอาจารย์และนักศึกษา
○
5.1
สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจเชิงธุรกิจ
○
5.2
สามารถสื่อสารภาษาไทย และภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
○
5.4
สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจา
○
5.5
สามารถสื่อสารด้วยบุคลิกภาพที่น่าเชื่อถือ และสามารถเลือกใช้รูปแบบของสื่อ เทคนิควิธีการ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับกลุ่มบุคคลที่มีพื้นฐานและแนวคิดที่หลากหลาย
○
5.6
ความสามารถนำเทคโนโลยีไปเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนในการดำเนินงาน และทราบข้อจำกัดของเทคโนโลยี
○
2.1
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
○
2.2
ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆ ได้
○
2.3
มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
○
3.1
ประเมินจากการอธิบายหลักการเข้าถึงข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
○
3.2
ประเมินจากการสรุปและอภิปรายงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกัน
○
3.3
ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
○
3.4
ประเมินจากการทดสอบ
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.2,2.3 | สอบหน่วยเรียนที่ 1 สอบหน่วยเรียนที่ 2 สอบหน่วยเรียนที่ 3 สอบหน่วยเรียนที่ 4 สอบหน่วยเรียนที่ 5 สอบหน่วยเรียนที่ 6 | 2 4 6 9 13 16 | 70% |
2 | 2.2,2.3,3.3 | วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
3 | 3.3 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การเข้าร่วมกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์/สาธารณประโยชน์ต่างๆ | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการจัดการเชิงกลยุทธ์
ผศ.ดร. ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ การจัดการเชิงกลยุทธ์ (ฉบับปรับปรุงใหม่) ซีเอ็ดยูเคชั่น, บมจ.,2009
จินตนา บุญบงการ,ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ การจัดการเชิงกลยุทธ์ : Strategic Management ซีเอ็ดยูเคชั่น, บมจ.,2001
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ ยอดกลยุทธ์การบริหารสำหรับองค์การยุคใหม่ เอ็กซเปอร์เน็ท, บจก.,2001
พิบูล ทีปะปาล การจัดการเชิงกลยุทธ์ (STRATEGIC MANAGEMENT) สำนักพิมพ์ศูนย์หนังสือจุฬา สุดใจ วันอุดมเดชาชัย การจัดการเชิงกลยุทธ์ (STRATEGIC MANAGEMENT) สำนักพิมพ์ศูนย์หนังสือจุฬา ภักดี มานะหิรัญเวท หัวใจของการจัดการเชิงกลยุทธ์ (ESSENTIALS OF STRATEGIC MANAGEMENT)
สำนักพิมพ์ศูนย์ หนังสือจุฬา รองศาสตราจารย์ บุญเกียรติ ชีวะตระกูลกิจ Strategic Management การจัดการเชิงยุทธศาสตร์สำหรับ CEO
อนิวัช แก้วจำนงค์‑ การจัดการเชิงกลยุทธ์ =Strategic management
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ ยอดกลยุทธ์การบริหารสำหรับองค์การยุคใหม่ เอ็กซเปอร์เน็ท, บจก.,2001
พิบูล ทีปะปาล การจัดการเชิงกลยุทธ์ (STRATEGIC MANAGEMENT) สำนักพิมพ์ศูนย์หนังสือจุฬา สุดใจ วันอุดมเดชาชัย การจัดการเชิงกลยุทธ์ (STRATEGIC MANAGEMENT) สำนักพิมพ์ศูนย์หนังสือจุฬา ภักดี มานะหิรัญเวท หัวใจของการจัดการเชิงกลยุทธ์ (ESSENTIALS OF STRATEGIC MANAGEMENT)
สำนักพิมพ์ศูนย์ หนังสือจุฬา รองศาสตราจารย์ บุญเกียรติ ชีวะตระกูลกิจ Strategic Management การจัดการเชิงยุทธศาสตร์สำหรับ CEO
อนิวัช แก้วจำนงค์‑ การจัดการเชิงกลยุทธ์ =Strategic management
-
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
การสะท้อนความคิดจากพฤติกรรมของผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ผลการสอบ
การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบบประเมินผู้สอน
สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
การวิจัยใน/นอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
การทวนสอบการให้คะแนน จากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบ ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
การทวนสอบการให้คะแนน จากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบ ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์ท่านอื่นๆ
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์ท่านอื่นๆ