การจัดการความรู้
Knowledge Management
เพื่อให้นักศึกษารู้จักการจัดการความรู้ในองค์กรด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจหลักการของการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการจัดการความรู้
เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการความรู้ และสามารถนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการจัดการความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
นิยามความรู้จากข้อมูลและสารสนเทศ การวางแผนการจัดการความรู้ การประเมินความรู้ ประเภทความรู้ นิยามของการจัดการ ความรู้จากการจัดการข้อมูลกระบวนการในการจัดการความรู้ กฎของการใช้ข้อมูลในกระบวนการจัดการความรู้ การพัฒนาและสร้างองค์ความรู้ใหม่ การประยุกต์ใช้ข้อมูลจากเทคโนโลยีในการจัดการความรู้ ประเด็นทางจริยธรรม และปัญหาในการจัดการความรู้
ตามความต้องการของนักศึกษา 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) ผ่านการติดต่อในรูปแบบ
1.e-mail: katawutk@gmail.com
2.Line กลุ่มวิชาการจัดการความรู้
3.หมายเลขโทรศัพท์ที่ได้ให้ไว้เพื่อติดต่อได้ในทุกวันทำงาน
1.e-mail: katawutk@gmail.com
2.Line กลุ่มวิชาการจัดการความรู้
3.หมายเลขโทรศัพท์ที่ได้ให้ไว้เพื่อติดต่อได้ในทุกวันทำงาน
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
2.การสังเกต
2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฏีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาที่ศึกษา
2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและหรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามข้อกำหนด
2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์รวมทั้งการนำไปประยุกต์
2.5 รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและหรือกาประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง
2.8 สามารถบูรณการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฏีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาที่ศึกษา
2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและหรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามข้อกำหนด
2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์รวมทั้งการนำไปประยุกต์
2.5 รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและหรือกาประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง
2.8 สามารถบูรณการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 3.2สามารถสืบค้น ตีความและประเมินสารสนเทศเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.4 สามรถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 3.2สามารถสืบค้น ตีความและประเมินสารสนเทศเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.4 สามรถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
1. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ(Interpersonal Skills and Responsibility)
4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่แก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่แก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
3. การสอนฝึกปฏิบัติการ
4. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบการสื่อสารการนำเสนออย่างเหมาะสม
5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบการสื่อสารการนำเสนออย่างเหมาะสม
5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
1.ใช้ Power point
2.การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
3.การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
3.การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
2.การสังเกต
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | learning outcome 1-8 | สอบย่อยครั้งที่ 1 | 2 | 5% |
2 | learning outcome 1-8 | สอบกลางภาค | 8 | 30% |
3 | learning outcome 10-15 | สอบย่อยครั้งที่ 2 | 3 | 5% |
4 | learning outcome 1-15 | นำเสนอโครงงานประจำวิชา | 4 | 10% |
5 | learning outcome 10-15 | สอบปลายภาค | 16 | 30% |
6 | learning outcome 1-8, 10-16 | งานที่มอบหมาย | 2-7 | 10% |
7 | learning outcome 10 | คะแนนเจตคติ การเข้าชั้นเรียน และความรับผิดชอบในรายวิชา | 1-16 | 10% |
1. ผศ.ดร.ศรีไพร ศักดิ์รุ่งพงศากุล, เจษฎาพร ยุทธนวิบูลย์ชัย. ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีการจัดการความรู้ (Information Systems and Knowledge Management Technology). บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด(มหาชน) 2549.
2. ผศ.ดร.พรฤดี เนติโสภากุล. เทคโนโลยีการจัดการความรู้ Knowledge Management Technology. สำนักพิมพ์ร่มโมกข์ 2554
2. ผศ.ดร.พรฤดี เนติโสภากุล. เทคโนโลยีการจัดการความรู้ Knowledge Management Technology. สำนักพิมพ์ร่มโมกข์ 2554
1.1 อาจารย์ผู้สอนได้ให้นักศึกษาเสนอแนะการเรียนการสอนในรายวิชานี้ เขียนลงบนกระดาษที่แจกให้ในชั้นเรียน
1.2 ผลการประเมินผู้สอนจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา ดำเนินการประเมินโดยระบบประเมินออนไลน์ของ มทร.ล้านนา
1.2 ผลการประเมินผู้สอนจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา ดำเนินการประเมินโดยระบบประเมินออนไลน์ของ มทร.ล้านนา
2.1 ผลการประเมินผู้สอนจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา ดำเนินการประเมินโดยระบบออนไลน์ของ มทร.ล้านนา
3.1 แก้ไขข้อบกพร่องจากผลการประเมินผู้สอนจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา
3.2 แก้ไขข้อบกพร่องจากข้อเสนอแนะจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชาในชั้นเรียน
3.3 การทำวิจัยในชั้นเรียน (ถ้ามี)
3.2 แก้ไขข้อบกพร่องจากข้อเสนอแนะจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชาในชั้นเรียน
3.3 การทำวิจัยในชั้นเรียน (ถ้ามี)
4.1 ทวนสอบคะแนนสอบของนักศึกษาตามจุดประสงค์การสอนแต่ละหน่วยเรียน
4.2 ทวนสอบงานที่มอบหมายของนักศึกษาตามจุดประสงค์กนสอนแต่ละหน่วยเรียน
4.2 ทวนสอบงานที่มอบหมายของนักศึกษาตามจุดประสงค์กนสอนแต่ละหน่วยเรียน
5.1 ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการประเมินผู้สอน จากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา ดำเนินการประเมินโดย มทร.ล้านนา น่าน
5.2 วิเคราะห์และสังเคราะห์ผลการเรียนของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา
5.3 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหา โดยวิธีการสอนที่หลากหลายและ/หรือจากงานวิจัยของอาจารย์ผู้สอน (ถ้ามี)
5.2 วิเคราะห์และสังเคราะห์ผลการเรียนของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา
5.3 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหา โดยวิธีการสอนที่หลากหลายและ/หรือจากงานวิจัยของอาจารย์ผู้สอน (ถ้ามี)