การปรับปรุงพันธุ์สัตว์
Animal Breeding
เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทำงานของยีนที่มีต่อการแสดงออกของลักษณะวิธีการในการคัดเลือกสัตว์ เพื่อการปรับปรุงพันธุ์ในสัตว์เศรษฐกิจประเภทต่าง ๆ และการผสมพันธุ์สัตว์แบบต่าง ๆ
การปรับปรุงพันธุ์สัตว์เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับความสำเร็จในการเลี้ยงสัตว์ ดังนั้นนักศึกษาจึงต้องรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ หลักและวิธีการคัดเลือกและผสมพันธุ์สัตว์เพื่อให้ทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการถ่ายทอดทางพันธุกรรมในลักษณะคุณภาพและปริมาณของปศุสัตว์ การประมาณพารามิเตอร์ทางพันธุกรรม ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม วิธีการคัดเลือกและผสมพันธุ์สัตว์ แผนการผสมพันธุ์สัตว์เพื่อการค้า การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการปรับปรุงพันธุ์
ตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ข้อ 1.1.1, 1.1.2 และ 1.1.3 เป็นความรับผิดชอบหลัก
ข้อ 1.1.4 เป็นความรับผิดชอบรอง
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ข้อ 1.1.1, 1.1.2 และ 1.1.3 เป็นความรับผิดชอบหลัก
ข้อ 1.1.4 เป็นความรับผิดชอบรอง
- กำหนดแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะสอนเนื้อหา
- นักศึกษาต้องไม่ทุจริตในการสอบหรือการลอกการบ้านหรืองานของผู้อื่น
- การนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่างๆ มาทำรายงานนั้น ต้องมีการอ้างอิงเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของความคิด
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะสอนเนื้อหา
- นักศึกษาต้องไม่ทุจริตในการสอบหรือการลอกการบ้านหรืองานของผู้อื่น
- การนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่างๆ มาทำรายงานนั้น ต้องมีการอ้างอิงเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของความคิด
1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรม ร้อยละ 80 ของนักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา ส่งงานตามกำหนด และปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์กำหนด
2. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรร้อยละ 80 ของนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. ไม่มีการทุจริตในการสอบ
4. ไม่มีการลอกรายงาน หรือลอกการบ้าน
5. มีการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลที่ใช้ในรายงานที่มอบหมาย
2. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรร้อยละ 80 ของนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. ไม่มีการทุจริตในการสอบ
4. ไม่มีการลอกรายงาน หรือลอกการบ้าน
5. มีการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลที่ใช้ในรายงานที่มอบหมาย
2.1.1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ข้อ 2.1.1 เป็นความรับผิดชอบหลัก
ข้อ 2.1.2 และ 2.1.3 เป็นความรับผิดชอบรอง
2.1.2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ข้อ 2.1.1 เป็นความรับผิดชอบหลัก
ข้อ 2.1.2 และ 2.1.3 เป็นความรับผิดชอบรอง
- บรรยายประกอบการอภิปรายในด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่นักศึกษาพบเห็น มีสื่อการสอนต่างๆ เช่น ภาพประกอบทั้งภาพนิ่ง เป็นต้น
- มอบหมายให้อ่านวารสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการปรับกรุงพันธุ์สัตว์พร้อมทั้งเขียนรายงานสรุปในเรื่องที่อ่าน
- มอบหมายให้อ่านวารสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการปรับกรุงพันธุ์สัตว์พร้อมทั้งเขียนรายงานสรุปในเรื่องที่อ่าน
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
3.1.1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
ข้อ 3.1.2 เป็นความรับผิดชอบหลัก
ข้อ 3.1.1 เป็นความรับผิดชอบรอง
3.1.2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
ข้อ 3.1.2 เป็นความรับผิดชอบหลัก
ข้อ 3.1.1 เป็นความรับผิดชอบรอง
ในการสอนจะวิเคราะห์ผลจากการทำการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ที่มีต่ออุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจปัญหาที่เชื่อมโยงกับหลักการหรือทฤษฎีอันเป็นแนวทางสู่การแก้ปัญหาต่างๆ มอบหมายปัญหาให้นักศึกษาฝึกวิเคราะห์และแก้ปัญหาโดยอิงบนหลักการและ/หรือทฤษฎีอย่างถูกต้อง
โดยการทดสอบจากข้อสอบที่เป็นข้อสอบซึ่งต้องให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ตลอดจนนำหลักการและทฤษฎีไปอธิบายได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
4.1.1. มีมนุษยสัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2. มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3. สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ข้อ 4.1.1 และ 4.1.4 เป็นความรับผิดชอบหลัก
ข้อ 4.1.2 และ 4.1.3 เป็นความรับผิดชอบรอง
4.1.2. มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3. สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ข้อ 4.1.1 และ 4.1.4 เป็นความรับผิดชอบหลัก
ข้อ 4.1.2 และ 4.1.3 เป็นความรับผิดชอบรอง
มอบหมายงานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่ม แล้วนำเสนอในชั้นเรียน และต้องแนะนำให้นักศึกษาเข้าใจในการทำงานร่วมกันด้วย งานที่มอบหมายเป็นลักษณะกรณีศึกษาที่เชื่อมโยงการนำความรู้ในวิชาการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ไปใช้ในการช่วยเหลือสังคม
ประเมินจากกระบวนการทำงาน การจัดระบบการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน สังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล
5.1.1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหา
อย่างเหมาะสม
5.1.3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ 5.1.1 เป็นความรับผิดชอบหลัก
ข้อ 5.1.2 และ 5.1.3 เป็นความรับผิดชอบรอง
5.1.2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหา
อย่างเหมาะสม
5.1.3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ 5.1.1 เป็นความรับผิดชอบหลัก
ข้อ 5.1.2 และ 5.1.3 เป็นความรับผิดชอบรอง
- กำหนดให้นักศึกษาสืบค้นจากหนังสืออ้างอิงหรือฐานข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษ
- ให้ค้นคว้าจัดทำรายงานผ่านฐานข้อมูลที่เหมาะสม
- ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
- ในการนำเสนอรายงานให้นำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือที่เหมาะสม
- ให้ค้นคว้าจัดทำรายงานผ่านฐานข้อมูลที่เหมาะสม
- ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
- ในการนำเสนอรายงานให้นำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือที่เหมาะสม
- ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมายว่ามีการใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลที่เหมาะสมและ ถูกต้อง
- ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนโดยเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
- ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนโดยเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3 ด้านทักษะทางปัญญา | 4 ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม | 1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพ | 1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม | 1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ | 2.1.1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา | 2.1.2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา | 2.1.3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง | 3.1.1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ | 3.1.2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ | 4.1.1. มีมนุษยสัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี | 4.1.2. มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 4.1.3. สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม | 4.1.4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม | 5.1.1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม | 5.1.2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม | 5.1.3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
1 | 23023301 | การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3, 1.1.4, 2.1.2,2.1.3, 3.1.1, 3.1.2, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3, 4.1.4 5.1.1, 5.1.2, 5.1.3 | ผลงาน /รายงาน/การทำงานกลุ่ม/การศึกษาอิสระ/งานในห้องปฏิบัติการ พฤติกรรมต่างๆ เช่น การร่วมอภิปราย การตอบคำถาม เป็นต้น | ทุกสัปดาห์ | 40 % |
2 | 1.1.2, 1.1.3, 1.1.4, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3, 5.1.3 | การส่งงาน การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบ | ทุกสัปดาห์ | 10% |
3 | 1.1.1, 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2 | สอบกลางภาค สอบปลายภาค | สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 9 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 17 | 50 % |
วริษา สินทวีวรกุล. 2554. การปรับปรุงพันธุ์สัตว์. มทร.ล้านนา ลำปาง
สมชัย จันทร์สว่าง. 2525. การปรับปรุงพันธุ์สัตว์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
-แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
-การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
-การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
-ผลการทดสอบ
-การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 นำการปรับปรุงการสอน และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ใช้แบบประเมินทวนสอบผลสัมฤทธิ์
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น
ปรับเนื้อหาให้ทันสมัยเป็นปัจจุบัน ให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลพันธุ์สัตว์ และเทคโนโลยีการปรับปรุงพันธุ์ที่นิยมใช้ในอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ ณ ปัจจุบัน
ปรับเนื้อหาให้ทันสมัยเป็นปัจจุบัน ให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลพันธุ์สัตว์ และเทคโนโลยีการปรับปรุงพันธุ์ที่นิยมใช้ในอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ ณ ปัจจุบัน