การออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์
Graphic for Packaging Design
จุดมุ่งหมายของรายวิชา รายวิชานี้มีจุดประสงค์เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถดังนี้ (นำเสนอโดยเทียบเทียงกับผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในหลักสูตร และสัญลักษณ์ที่ใช้มีความหมายดังนี้ หมายถึง ความรับผิดชอบหลัก / สัญลักษณ์ หมายถึง ความรับผิดชอบรอง)
ด้านคุณธรรมจริยธรรม
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิศ์รีของความเปน็มนุษย์
ด้านความรู้
มีความรู้และเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา มีความสามารถในการติดตามงานวิจัยและองค์ความรู้ใหม่
ด้านทักษะทางปัญญา
มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการ หรือวิชาชีพ
มีทักษะในการนาความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นา และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถทางานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิศ์รีของความเปน็มนุษย์
ด้านความรู้
มีความรู้และเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา มีความสามารถในการติดตามงานวิจัยและองค์ความรู้ใหม่
ด้านทักษะทางปัญญา
มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการ หรือวิชาชีพ
มีทักษะในการนาความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นา และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถทางานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
การบรรจุภัณฑ์ หรือการบรรจุหีบห่อนั้น เป็นสิ่งที่มีความสาคัญทั้งในทางเศรษฐกิจการขนส่งและการจาหน่ายสินค้าทุก ประเภท ทั้งนี้เพราะสินค้าแทบทุกชนิดจาเป็นต้องอาศัยการบรรจุหีบห่อแทบทั้งสิ้น ผลิตภัณฑ์มากกว่าร้อยละ 70 ต้องใช้บรรจุภัณฑ์ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เพื่อทาหน้าที่ป้องกันผลิตภัณฑ์จากสภาวะสิ่งแวดล้อมภายนอก และรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ไว้ให้นานที่สุด พร้อมทั้งก่อให้เกิดความสะดวกในการนาผลิตภัณฑ์ออกใช้ นอกจากนี้บรรจุภัณฑ์ยังมีส่วนในการเพิ่มคุณค่าของผลิตภัณฑ์และเร่งเร้าให้ เกิดความต้องการเพื่อผลทางการตลาดอีกด้วย
บรรจุภัณฑ์จึงได้รับความสาคัญเพิ่มขึ้นมาเป็นอย่างมาก และเป็นองค์ประกอบหลักที่ผู้ผลิตนำมาเป็นเครื่องมือสำหรับการแข่งขัน เป็นผู้ช่วยขายผลิตภัณฑ์ เพราะสามารถแสดงตัวหรือตราสินค้า ต่อผู้ใช้ประจำได้อย่างรวดเร็ว ยิ่งสินค้าผลิตภัณฑ์มีการคิดค้น การผลิต การแข่งขันมากเท่าใด การบรรจุภัณฑ์ก็จะได้รับการพัฒนาขึ้นตามไปมากเท่านั้น
ด้วยเหตุดังกล่าวจึงปรับการสั่งงานให้เข้าสู่การทำงานจริงมากขึ้นโดยการออกแบบด้วยมือเป็นหลักเพื่อสร้างความชำนาญจนทำให้สามารถลงมือทำบนเครื่องมือได้ตามต้องการและยังให้นักศึกษาแสดงออกด้านความคิดเห็นและการนําเสนอในการสรุปการทำงานที่ผ่านมา ว่าได้รับความรู้ความเข้าใจในการทำงานมากขึ้นเท่าใด
การบรรจุภัณฑ์ หรือการบรรจุหีบห่อนั้น เป็นสิ่งที่มีความสาคัญทั้งในทางเศรษฐกิจการขนส่งและการจาหน่ายสินค้าทุก ประเภท ทั้งนี้เพราะสินค้าแทบทุกชนิดจาเป็นต้องอาศัยการบรรจุหีบห่อแทบทั้งสิ้น ผลิตภัณฑ์มากกว่าร้อยละ 70 ต้องใช้บรรจุภัณฑ์ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เพื่อทาหน้าที่ป้องกันผลิตภัณฑ์จากสภาวะสิ่งแวดล้อมภายนอก และรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ไว้ให้นานที่สุด พร้อมทั้งก่อให้เกิดความสะดวกในการนาผลิตภัณฑ์ออกใช้ นอกจากนี้บรรจุภัณฑ์ยังมีส่วนในการเพิ่มคุณค่าของผลิตภัณฑ์และเร่งเร้าให้ เกิดความต้องการเพื่อผลทางการตลาดอีกด้วย
บรรจุภัณฑ์จึงได้รับความสาคัญเพิ่มขึ้นมาเป็นอย่างมาก และเป็นองค์ประกอบหลักที่ผู้ผลิตนำมาเป็นเครื่องมือสำหรับการแข่งขัน เป็นผู้ช่วยขายผลิตภัณฑ์ เพราะสามารถแสดงตัวหรือตราสินค้า ต่อผู้ใช้ประจำได้อย่างรวดเร็ว ยิ่งสินค้าผลิตภัณฑ์มีการคิดค้น การผลิต การแข่งขันมากเท่าใด การบรรจุภัณฑ์ก็จะได้รับการพัฒนาขึ้นตามไปมากเท่านั้น
ด้วยเหตุดังกล่าวจึงปรับการสั่งงานให้เข้าสู่การทำงานจริงมากขึ้นโดยการออกแบบด้วยมือเป็นหลักเพื่อสร้างความชำนาญจนทำให้สามารถลงมือทำบนเครื่องมือได้ตามต้องการและยังให้นักศึกษาแสดงออกด้านความคิดเห็นและการนําเสนอในการสรุปการทำงานที่ผ่านมา ว่าได้รับความรู้ความเข้าใจในการทำงานมากขึ้นเท่าใด
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ องค์ประกอบในการออกแบบ การออกแบบกราฟิก และโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ การวางแผนภาพลักษณ์ IMAGE SCALE ในงาน 2 มิติ และ 3 มิติ กระบวนการผลิตงานพิมพ์ บรรจุภัณฑ์ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนในการใช้วัสดุสาหรับออกแบบและผลิตบรรจุภัณฑ์
อาจารย์ประจารายวิชา แจ้งให้นักศึกษาทราบถึงเวลาให้คำปรึกษาในชั่วโมงแรกของการสอน
อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการและนัดหมายล่วงหน้า)
ด้านคุณธรรมจริยธรรม
คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
มีจิตสานึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์และกราฟิกบรรจุภัณฑ์ มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์และกราฟิกบรรจุภัณฑ์ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
มีจิตสานึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์และกราฟิกบรรจุภัณฑ์ มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์และกราฟิกบรรจุภัณฑ์ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
วิธีการสอน
ü บรรยาย ๑(๓) ü มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ) ๑(๒),๑(๓) ü มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน) ๑(๒),๑(๓) ü มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน) ๑(๑),๑(๒),๑(๓) นำเสนอข้อมูล ๑(๒) สาธิต/ดูงาน ü ฝึกปฏิบัติ ๑(๓) ü ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม ๑(๑),๑(๒),๑(๓),๑(๔)
ü บรรยาย ๑(๓) ü มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ) ๑(๒),๑(๓) ü มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน) ๑(๒),๑(๓) ü มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน) ๑(๑),๑(๒),๑(๓) นำเสนอข้อมูล ๑(๒) สาธิต/ดูงาน ü ฝึกปฏิบัติ ๑(๓) ü ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม ๑(๑),๑(๒),๑(๓),๑(๔)
วิธีการประเมินผล
ü ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ๑(๓),๑(๔) ü ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด ๑(๒),๑(๓) ü ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง ๑(๑),๑(๒) ü ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน) ๑(๒),๑(๓) ü ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน) ๑(๑),๑(๒),๑(๓) ü ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) ๑(๒).๑(๓) ü ประเมินจากการสอบข้อเขียน ๑(๓) ประเมินจากการสอบปฏิบัติ ประเมินจากการสอบปากเปล่า ü ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) ๑(๓),๑(๔) ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
ü ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ๑(๓),๑(๔) ü ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด ๑(๒),๑(๓) ü ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง ๑(๑),๑(๒) ü ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน) ๑(๒),๑(๓) ü ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน) ๑(๑),๑(๒),๑(๓) ü ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) ๑(๒).๑(๓) ü ประเมินจากการสอบข้อเขียน ๑(๓) ประเมินจากการสอบปฏิบัติ ประเมินจากการสอบปากเปล่า ü ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) ๑(๓),๑(๔) ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
ด้านความรู้
ความรู้ที่ต้องได้รับ
มีความรู้และเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในการออกแบบบรรจุภัณฑ์และกราฟิกบรรจุภัณฑ์ สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของการออกแบบบรรจุภัณฑ์และกราฟิกบรรจุภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์และกราฟิกบรรจุภัณฑ์
ความรู้ที่ต้องได้รับ
มีความรู้และเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในการออกแบบบรรจุภัณฑ์และกราฟิกบรรจุภัณฑ์ สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของการออกแบบบรรจุภัณฑ์และกราฟิกบรรจุภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์และกราฟิกบรรจุภัณฑ์
วิธีการสอน
ü บรรยาย ๒(๑),๒(๒) ü มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ) ๒(๑),๒(๒) ü มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน) ๒(๑),๒(๒),๒(๓) ü มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน) ๒(๑),๒(๓),๒(๓) ü นำเสนอข้อมูล ๒(๑) ü สาธิต/ดูงาน ๒(๑),๒(๓),๒(๓) ü ฝึกปฏิบัติ ๒(๑),๒(๓) ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
ü บรรยาย ๒(๑),๒(๒) ü มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ) ๒(๑),๒(๒) ü มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน) ๒(๑),๒(๒),๒(๓) ü มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน) ๒(๑),๒(๓),๒(๓) ü นำเสนอข้อมูล ๒(๑) ü สาธิต/ดูงาน ๒(๑),๒(๓),๒(๓) ü ฝึกปฏิบัติ ๒(๑),๒(๓) ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
วิธีการประเมินผล
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด ü ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง ๒(๑),๒(๒) ü ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน) ๒(๑),๒(๒),๒(๓) ü ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน) ๒(๑),๒(๒),๒(๓) ü ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) ๒(๓) ü ประเมินจากการสอบข้อเขียน ๒(๑) ประเมินจากการสอบปฏิบัติ ประเมินจากการสอบปากเปล่า ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด ü ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง ๒(๑),๒(๒) ü ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน) ๒(๑),๒(๒),๒(๓) ü ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน) ๒(๑),๒(๒),๒(๓) ü ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) ๒(๓) ü ประเมินจากการสอบข้อเขียน ๒(๑) ประเมินจากการสอบปฏิบัติ ประเมินจากการสอบปากเปล่า ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
ด้านทักษะทางปัญญา
ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการ หรือวิชาชีพด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์และกราฟิกบรรจุภัณฑ์ มีทักษะในการนาความรู้ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์และกราฟิกบรรจุภัณฑ์มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการ หรือวิชาชีพด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์และกราฟิกบรรจุภัณฑ์ มีทักษะในการนาความรู้ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์และกราฟิกบรรจุภัณฑ์มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
วิธีการสอน
ü บรรยาย ๓(๑),๓(๒) มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ) ü มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน) ๓(๑) ü มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน) ๓(๑),๓(๒) ü นำเสนอข้อมูล ๓(๑),๓(๒) ü สาธิต/ดูงาน ๓(๑),๓(๒) ü ฝึกปฏิบัติ ๓(๑),๓(๒) ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
ü บรรยาย ๓(๑),๓(๒) มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ) ü มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน) ๓(๑) ü มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน) ๓(๑),๓(๒) ü นำเสนอข้อมูล ๓(๑),๓(๒) ü สาธิต/ดูงาน ๓(๑),๓(๒) ü ฝึกปฏิบัติ ๓(๑),๓(๒) ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
วิธีการประเมินผล
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง ü ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน) ๓(๑),๓(๒) ü ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน) ๓(๑),๓(๒) ü ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) ๓(๑),๓(๒) ü ประเมินจากการสอบข้อเขียน ๓(๒) ประเมินจากการสอบปฏิบัติ ประเมินจากการสอบปากเปล่า ü ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) ๓(๑),๓(๒) ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง ü ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน) ๓(๑),๓(๒) ü ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน) ๓(๑),๓(๒) ü ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) ๓(๑),๓(๒) ü ประเมินจากการสอบข้อเขียน ๓(๒) ประเมินจากการสอบปฏิบัติ ประเมินจากการสอบปากเปล่า ü ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) ๓(๑),๓(๒) ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นา และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทางานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นา และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทางานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
วิธีการสอน
บรรยาย มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ) ü มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน) ๔(๑),๔(๒) ü มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน) ๔(๒),๔(๓) นำเสนอข้อมูล ü สาธิต/ดูงาน ๔(๑),๔(๒),๔(๓) ü ฝึกปฏิบัติ ๔(๒),๔(๓) ü ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรมและความรับผิดชอบ ๔(๑),๔(๒),๔(๓),๔(๔)
บรรยาย มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ) ü มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน) ๔(๑),๔(๒) ü มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน) ๔(๒),๔(๓) นำเสนอข้อมูล ü สาธิต/ดูงาน ๔(๑),๔(๒),๔(๓) ü ฝึกปฏิบัติ ๔(๒),๔(๓) ü ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรมและความรับผิดชอบ ๔(๑),๔(๒),๔(๓),๔(๔)
วิธีการประเมินผล
ü ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ๔(๑) ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง ü ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน) ๔(๒) ü ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน) ๔(๒),๔(๓) ü ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) ๔(๒),๔(๓) ประเมินจากการสอบข้อเขียน ประเมินจากการสอบปฏิบัติ ประเมินจากการสอบปากเปล่า ü ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) ๔(๓),๔(๔) ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
ü ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ๔(๑) ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง ü ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน) ๔(๒) ü ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน) ๔(๒),๔(๓) ü ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) ๔(๒),๔(๓) ประเมินจากการสอบข้อเขียน ประเมินจากการสอบปฏิบัติ ประเมินจากการสอบปากเปล่า ü ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) ๔(๓),๔(๔) ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์และกราฟิกบรรจุภัณฑ์เพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์และกราฟิกบรรจุภัณฑ์เพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วิธีการสอน
บรรยาย ü มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ) ๕(๒) ü มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน) ๕(๑),๕(๒) ü มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน) ๕(๑),๕(๒),๕(๓) ü นำเสนอข้อมูล ๕(๑) สาธิต/ดูงาน ฝึกปฏิบัติ ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
บรรยาย ü มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ) ๕(๒) ü มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล โครงงาน รายงาน) ๕(๑),๕(๒) ü มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน) ๕(๑),๕(๒),๕(๓) ü นำเสนอข้อมูล ๕(๑) สาธิต/ดูงาน ฝึกปฏิบัติ ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
วิธีการประเมินผล
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง ü ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน) ๕(๑) ü ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน) ๕(๑),๕(๒) ü ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) ๕(๑),๕(๓) ü ประเมินจากการสอบข้อเขียน ๕(๑),๕(๒) ประเมินจากการสอบปฏิบัติ ประเมินจากการสอบปากเปล่า ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง ü ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน) ๕(๑) ü ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน) ๕(๑),๕(๒) ü ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) ๕(๑),๕(๓) ü ประเมินจากการสอบข้อเขียน ๕(๑),๕(๒) ประเมินจากการสอบปฏิบัติ ประเมินจากการสอบปากเปล่า ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | คุณธรรมจริยธรรม | ความรู้ | ทักษะทางปัญญา | ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 |
1 | 43011013 | การออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1(3),1(4),2(1),2(2),2(3),4(1),4(3),4(4) | การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลองและการศึกษาดูงาน | 1-17 | 5 |
2 | 1(1),1(3),2(1),2(2) | การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง | 1-15 | 5 |
3 | 1(2),1(3),2(2),2(2),2(3),3(1),3(2),4(2),5(1) | ผลงานรายบุคคล (วิเคราะห์ผลิตภัณฑ์และการออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์) | 1-15 | 30 |
4 | 1(2),1(3),2(1),2(2),2(3),3(1),3(2),4(2),4(3),5(1),5(2) | ผลงานกลุ่ม (การออกแบบบรรจุภัณฑ์และกราฟิกบรรจุภัณฑ์แบบองค์รวม) | 1-15 | 20 |
5 | 1(2),1(2),1(3),2(1),3(1),3(2),4(2),4(3),5(2),5(3) | การนำเสนอ | 1-15 | 10 |
6 | 1(3),2(1),3(2),5(1),5(2) | การสอบข้อเขียน (สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค สอบปลายภาค) | 1-17 | 30 |
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์.(2553).การคิดเชิงสร้างสรรค์.พิมพ์ครั้งที่ 7.กรุงเทพฯ: ซัคเซส มีเดีย จากัด.
ปุ่น คงเจริญเกียรติ และ สมพร คงเจริญเกียรติ.(2555) บรรจุภัณฑ์อาหาร.กรุงเทพฯ: แพคเมทส์ จากัด.
สุมาลี ทองรุ่งโรจน์.(2556). Packaging Design ออกแบบบรรจุภัณฑ์.พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพฯ: วาดศิลป์ จากัด.
ส่วนบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ สานักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม.คู่มือเตรียมตัวก่อนออกแบบบรรจุภัณฑ์.กรุงเทพฯ: จิรายาคอมมูนิเคชั่น จากัด.
Ellen Lupton จุติพงษ์ ภูสุมาศ แปล.(2557) Graphic Design Thinking: ก้าวข้ามการ Brainstorm.กรุงเทพฯ: ไอดีซี พรีเมียร์ จากัด
ปุ่น คงเจริญเกียรติ และ สมพร คงเจริญเกียรติ.(2555) บรรจุภัณฑ์อาหาร.กรุงเทพฯ: แพคเมทส์ จากัด.
สุมาลี ทองรุ่งโรจน์.(2556). Packaging Design ออกแบบบรรจุภัณฑ์.พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพฯ: วาดศิลป์ จากัด.
ส่วนบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ สานักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม.คู่มือเตรียมตัวก่อนออกแบบบรรจุภัณฑ์.กรุงเทพฯ: จิรายาคอมมูนิเคชั่น จากัด.
Ellen Lupton จุติพงษ์ ภูสุมาศ แปล.(2557) Graphic Design Thinking: ก้าวข้ามการ Brainstorm.กรุงเทพฯ: ไอดีซี พรีเมียร์ จากัด
๑. หนังสือ เรื่อง เล่าให้คลิก พลิกแบรนด์ Content Marketing.
๒. หนังสือ เรื่อง Marketing for work งานตลาด “จากการวางแผน สู่การปฏิบัติ”
๓. เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการออกแบบกราฟิกและการออกแบบบรรจุภัณฑ์
๒. หนังสือ เรื่อง Marketing for work งานตลาด “จากการวางแผน สู่การปฏิบัติ”
๓. เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการออกแบบกราฟิกและการออกแบบบรรจุภัณฑ์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ