ทักษะวิชาชีพพืชศาสตร์ 3

Practical Skills in Plant Science 3

มีทักษะทางด้านพืชศาสตร์เพื่อสร้างเสริมประสบการณ์ในการผลิตพืชอย่างเป็นระบบ มีทักษะในการผลิตพืชครบวงจรเพื่อให้สามารเข้าใจช่องทางในการสร้างอาชีพและรายได้

                      
ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปและให้เหมาะสมกับสภาวะกาลปัจจุบัน
 
ฝึกทักษะวิชาชีพทางพืชศาสตร์เพื่อสร้างประสบการณ์ในการผลิตพืชอย่างเป็นระบบ โดยให้เลือกฝึกปฏิบัติงานในแผนกต่างๆ ของสาขาพืชศาสตร์ที่นักศึกษาสนใจเป็นพิเศษ ดำเนินการสร้างทักษะในการผลิตพืชครบวงจร เพื่อให้สามารถเข้าใจช่องทางในการสร้างอาชีพและรายได้
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
 
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2  มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
.1.1.4  เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัยขยัน อดทน รักษาสิ่งแวดล้อม โดยเน้นการเข้าฝึกงานให้ตรงเวลา  ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย- มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายปฏิบัติงานให้สำเร็จตามกำหนด
 
1.3.1ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าฝึกงานการทำงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย
1.3.2 ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าฝึกงาน
1.3.3ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและการรักษาสิ่งแวดล้อม
2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

 
 
ใช้การเรียนการสอนโดยปฏิบัติการให้เป็นไปตามเนื้อหาสาระของรายวิชาโดยฝึกปฏิบัติในโรงเรือนและในแปลงปลูก   บันทึกขั้นตอนการปฏิบัติงานผลจากการปฏิบัติงาน ตลอดจนอุปสรรคปัญหาที่เกิด
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษาในด้านต่างๆคือ
              - ประเมินจากผลการปฏิบัติงาน และการบันทึกการปฏิบัติงาน
3.1ผลการเรียนรู้ด้านด้านทักษะทางปัญญา
  นักศึกษาต้องสามารถพัฒนาตนเองและประกอบวิชาชีพได้  นักศึกษาคิดหาเหตุผลเข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหาวิธีการแก้ปัญหารวมทั้งแนวคิดด้วยตนเอง
3.1.1  มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ

 
 
มอบหมายงานให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
  ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษาและการมีทักษะในการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมต่องานการผลิตพืชแต่ละชนิด
- สังเกตกระบวนการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ
4.1 ผลการเรียนรู้ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 
 
 
 
ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการทำงานกลุ่ม
5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1.1  สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2  สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3  สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
 
 
 
มอบหมายงานให้นักศึกษาได้วางแผนและแก้ปัญหาที่เหมาะสม
ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฎีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้อง
 
    นักศึกษามีความสามารถปฏิบัติงานทางวิชาชีพและพัฒนาตนเองได้โดยนักศึกษาต้อง
มีคุณสมบัติต่างๆจากทักษะการปฏิบัติ ดังนี้
6.1.1  สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.1.2  สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.1.3  สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
 
 

   
  ใช้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติให้นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และทักษะการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้
    จากประสิทธิผลในทักษะการปฏิบัติและความถูกต้องคุณภาพของผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2 1
1 21019304 ทักษะวิชาชีพพืชศาสตร์ 3
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1, 1.1.3 สังเกตจากกิจนิสัยในการทำงานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ ขยันและอดทน 1-17 10
2 2.1.1, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2, 4.1.1, 4.1.3, 5.1.2, 6.1.1, 6.1.2 กระบวนการปฏิบัติงานเกษตรตามหลักการและผลการปฏิบัติงานผลิตพืชในฟาร์ม ร่วมกับผู้อื่น 1-17 70
3 5.1.2, 1.1.3, 6.1.3 คุณภาพผลงานและการแก้ไขปัญหาในการทำงาน 7,16 20
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืช และที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืช
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชาได้แก่วิธีการสอนการจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียนสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
 
        
 
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินหรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชาแล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียนนอกจากนี้ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
 
ทวนสอบโดยอาจารย์ผู้ควบคุมซึ่งดูจากการปฏิบัติงานและจากงานที่มอบหมาย
 
 
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาโดยพิจารณาจากผลการประเมิน  การสอนโดยนักศึกษาผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของสาขาวิชาการรายงานรายวิชา   โดยอาจารย์ผู้สอนหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาอาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการ    ทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนา    ในรายงานรายวิชาเสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุป     วางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขาวิชา / คณะเพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป