สารทางการเกษตรเพื่อการผลิตพืช

Agricultural Substances for Plant Production

           เพื่อศึกษาและฝึกปฎิบัติเกี่ยวกับประเภทคุณสมบัติทางกายภาพและเคมี กลไกการออกฤทธิ์ การเตรียมพฤติกรรมในพืช พฤติกรรมในสภาพแวดล้อมและความเป็นพิษทางการเกษตร ตลอดจนการประยุกต์ใช้สารกับพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจ
เพื่อเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพทางพืชศาสตร์ ให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการใช้สารทางการเกษตรเพื่อผลิตพืชได้อย่างมีประสิทธิภาพและลดอันตรายของการใช้สารต่อผู้ใช้ ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม
         เพื่อศึกษาและฝึกปฎิบัติเกี่ยวกับประเภทคุณสมบัติทางกายภาพและเคมี กลไกการออกฤทธิ์ การเตรียมพฤติกรรมในพืช พฤติกรรมในสภาพแวดล้อมและความเป็นพิษทางการเกษตร ตลอดจนการประยุกต์ใช้สารกับพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจ
˜1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
˜1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรม ในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ
- ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และการประพฤติ     ที่ผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพ
- อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง  ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ  การมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น และรับฟังความคิดเห็นของ     นักศึกษา การเคารพ และให้เกียรติแก่อาจารย์อาวุโส เป็นต้น
- ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน และในโอกาสที่สาขา/คณะจัดกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม การมีสัมมาคารวะต่อผู้อาวุโส และอาจารย์ 
- การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน และ        การส่งรายงาน
- ประเมินการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น โดยนักศีกษาอื่นๆ ในรายวิชา
- นักศึกษาประเมินตนเอง
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
- ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยาย ร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม  การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต  การสอนแบบ e-Learning เป็นต้น
- การสอบกลางภาค และสอบปลายภาค
- ทำรายงานรายบุคคล
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
- ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียน และการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา จากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหาหรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความ  น่าเชื่อถือและความเป็นไปได้   
- มอบหมายงานกลุ่ม -
- ประเมินจากการตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทั้งรายบุคคลและกลุ่ม
- รายงานกลุ่ม
- การสอบข้อเขียนกลางภาค และปลายภาค
˜4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
˜4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาอื่นและบุคคลภายนอก
- มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
- กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน
- ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
- ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
- ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล       และด้านความรับผิดชอบ
- ให้นักศึกษาประเมินนักศึกษาอื่นๆ ในรายวิชา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้  Power point  
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
- ประเมินทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงาน
- ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
- ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม .ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 21011351 สารทางการเกษตรเพื่อการผลิตพืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3,2.1, 3.1 รายงานจากบทปฏิบัติการ 1-16 16%
2 1.3,2.1, 4.3, 5.1,5.3 รายงานกลุ่ม 4, 8, 13, 17 16%
3 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2 การสอบกลางภาค 9 30%
4 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2 การสอบปลายภาค 18 30%
5 1.1, 1.2, 1.3, 1.4 การประเมินตนเองของนักศึกษา พฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบ 1-18 4%
6 4.1, 4.2, 4.3, 4.4 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม 1-17 4%
เกรียงไกร จำเริญมา. (บก.). 2540. การป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน. เอกสารวิชาการ กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ. 360 หน้า.
บรรพต ณ ป้อมเพชร. 2524. หลักการควบคุมแมลงศัตรูพืช ความรู้พื้นฐาน และความ ปลอดภัยเกี่ยวกับ ยาปราบศัตรูพืช. ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์/สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, กรุงเทพฯ. 231 หน้า
สืบศักดิ์ สนธิรัตน.  2543.  การจัดการศัตรูพืช. วี.บี.บุ๊คเซ็นเตอร์. กรุงเทพฯ. 189 น.      
กฤษณา  กฤษณพุกต์. 2537. การเกิดและการใช้สารแร่งราก, น 90-93. ในคณะอนุกรรมการประสานงานวิจัยฮอร์โมนพืชและสารที่เกี่ยวข้อง (ผู้รวบรวม). เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทางการเกษตร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. กฤษณา  กฤษณพุกต์. 2537. การพักตัวของพืชและการทำการพักตัว, น 94-107. ในคณะอนุกรรมการประสานงานวิจัยฮอร์โมนพืชและสารที่เกี่ยวข้อง (ผู้รวบรวม). เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทางการเกษตร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. คณาพล  จุฑามณี. 2537. การคำนวณและผสมสารเคมี, น.74-79. ใน คณะอนุกรรมการประสานงานวิจัยฮอร์โมนพืชและสารที่เกี่ยวข้อง (ผู้รวบรวม). เอกสารประสานการฝึกอบรม เรื่อง การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทางการเกษตร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. คณาพล  จุฑามณี. 2537. การแสดงเพศดอกและการเปลี่ยนเพศดอก, น.112-117 ใน คณะอนุกรรมการประสานงานวิจัยฮอร์โมนพืชและสารที่เกี่ยวข้อง (ผู้รวบรวม). เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทางการเกษตร สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ คณาพล  จุฑามณี. 2537. เอทธิลีน, น.55-62. ใน คณะอนุกรรมการประสานงานวิจัยฮอร์โมนพืชและสารที่เกี่ยวข้อง (ผู้รวบรวม). เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทางการเกษตร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ จำนง  อุทัยบุตร. มปป. เอกสารประกอบการสอนภาคบรรยาย วิชาสารสังเคราะห์ที่ใช้ควบคุมการเจริญเติบโตของพืช. ภาควิชาชีววิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 268 น. จำนง  อุทัยบุตร. มปป. เอกสารประกอบการสอนภาคปฏิบัติ วิชาสารสังเคราะห์ที่ใช้ควบคุมการเจริญเติบโตของพืช. ภาควิชาชีววิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 33 น. ดนัย  บุณยเกียรติ, 2540 สรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวน. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 222 น. ธนัท  ธัญญาภา. 2538. สารควบคมการเจริญเติบโตของพืชที่ใช้ในพืชสวน. น. 56 -65. ใน บัณฑูรย์   วาฤทธิ์ (ผู้รวบรวม). หลักพืชสวน. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. นพดล  จรัสสัมฤทธิ์. 2537. ฮอร์โมนพืชและสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช, วี.บี.บุ๊ค เซ็นเตอร์    (เค ยู.) ประตู 2 มก. ตึกสหกรณ์ร้านค้า. เขตจตุจักร, กรุงเทพ 128 น. พีรเดช  ทองอำไพ.  2529. ฮอร์โมนพืชและสารสังเคราะห์ แนวทางการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย. หจก.ไดนามิคการพิมพ์ ถนนสีลม เขตบางรัก, กรุงเทพ. 196 น. พีรเดช  ทองอำไพ. 2537. สารชะลอการเจริญเติบโตของพืช. น.63-68. ใน คณะอนุกรรมการประสานงานวิจัยฮอร์โมนพืชและสารที่เกี่ยวข้อง (ผู้รวบรวม). เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทางการเกษตร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พีรเดช  ทองอำไพ. 2537. สารยับยั้งการเจริญเติบโต. น.69-73. ใน คณะอนุกรรมการประสานงานวิจัยฮอร์โมนพืชและสารที่เกี่ยวข้อง (ผู้รวบรวม). เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทางการเกษตร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พีรเดช  ทองอำไพ. 2537. ออกซิน. น.1-12. ใน คณะอนุกรรมการประสานงานวิจัยฮอร์โมนพืชและ    สารที่เกี่ยวข้อง (ผู้รวบรวม). เอกสารประกอบการฝึกอบรม  เรื่อง การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทางการเกษตร. สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ. ภูวนาถ  นนทรี. มปป. การใช้ฮอร์โมนกับไม้ผลบางชนิด. โครงการหนังสือเกษตรชุมชน. ตู้ ปณ. 1074 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพ. 72 น. รวี  เสรฐภักดี. 2523. บทปฏิบัติการหลักการไม้ผล. ภาควิชาพืชสวน. คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพ. 98 น. รวี  เสรฐภักดี. 2537. จิบเบอเรลลิน. น. 13-35. ใน คณะอนุกรรมการประสานงานวิจัยฮอร์โมนพืชและสารที่เกี่ยวข้อง (ผู้รวบรวม). เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทางการเกษตร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. รวี  เสรฐภักดี. 2537. ไซโตไคนิน. น. 36-54. ใน คณะอนุกรรมการประสานงานวิจัย ฮอร์โมนพืชและสารที่เกี่ยวข้อง (ผู้รวบรวม). เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทางการเกษตร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. รัตนาภรณ์  พรหมศรัทธา. 2537. ผลของสารที่มีต่อสภาวะแวดล้อมและความเป็นพิษ. น.147 – 151.  ใน คณะอนุกรรมการประสานงานวิจัยฮอร์โมนพืชแบะสารที่เกี่ยวข้อง (ผู้รวบรวม). เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทางการเกษตร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. ศิริมา  ธีระสกุลชล. 2531. คู่มือบทปฏิบัติการวิชาสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช. ภาควิชา        พืชศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์บางพระ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, ชลบุรี. 50 น. สายชล  เกตุษา. 2531. เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวของดอกไม้. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพ. น. 125-128. สุรนันต์  สุภัทรพันธุ์. 2526. สรีรวิทยาของพืช. คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.กรุงเทพ. 135น. สัมพันธ์  คัมภิรานนท์. 2527. ฮอร์โมนพืช. ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพ. 136น. สัมฤทธิ์  เฟื่องจันทร์. 2527. หลักวิชาพืชสวน เล่ม 2. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น. 403 น. Macmillan, J. 1980. Hormonal Regulation of Development I. New York: Springer – Verlag.    681 p. Moore, T.C.. 1979. Biochemistry and Physiology of Plant Hormones. New York: Springer – Verlag. 274 p. Nickell, L.G. 1982. Plant Growth Regulators. New York: Springer – Verlag.173 p. Scott, T.K.. 1979. Plant Regulation and World Agriculture. New York: Plenum Press. 575 p. Weaver, R.J.. 1972. Plant Growth Substance in Agriculture. San Francisco: W.H. Freeman and Company. 594 p.
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
ประเมินจากผลการสอบและการทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
สาขากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์ และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา  แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา
สาขามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา  โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4