พืชสวนประดับ
Ornamental Horticulture
เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ ประวัติความเป็นมาของพืชสวนประดับ การจัดประเภทและลักษณะของพืชสวนประดับที่เป็นที่นิยม การปลูกและการปฏิบัติรักษาพืชสวนประดับ
1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับพืชสวนประดับตั้งแต่การปลูก ดูแลรักษา ขยายพันธุ์และเตรียมไม้ประดับเพื่อจำหน่าย
1.3 นำความรู้ ทักษะในสาขาไปประยุกต์ใช้ในการทำงานจริง และการใช้ชีวิต
1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ ประวัติความเป็นมาของพืชสวนประดับ การจัดประเภทและลักษณะของพืชสวนประดับที่เป็นที่นิยม การปลูกและการปฏิบัติรักษาพืชสวนประดับ
1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับพืชสวนประดับตั้งแต่การปลูก ดูแลรักษา ขยายพันธุ์และเตรียมไม้ประดับเพื่อจำหน่าย
1.3 นำความรู้ ทักษะในสาขาไปประยุกต์ใช้ในการทำงานจริง และการใช้ชีวิต
เพิ่มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลพืชสวนประดับที่มีการจำหน่ายทั่วโลก หรือ สถิติการจำหน่ายพืชสวนประดับต่าง ๆ เทคนิคในการปลูกเลี้ยง
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและประโยชน์ของพืชสวนประดับพฤกษศาสตร์ การจัดจำแนกพืชสวนประดับ พืชสวนประดับเพื่อการค้าวงศ์ต่างๆ ชื่อสามัญชื่อวิทยาศาสตร์และลักษณะทางสัณฐานวิทยาของพืชสวนประดับชนิดต่างๆ ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชสวนประดับ การขยายพันธุ์ การปลูกและบำรุงรักษา การเตรียมพืชสวนประดับเพื่อจำหน่าย
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาตามตารางที่เขตพื้นที่ระบุในปฏิทินการศึกษา
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
กระทำตนเป็นแบบอย่างในการเข้าสอนตรงเวลา
-การมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการกำหนดเกณฑ์ประเมินความรับผิดชอบได้แก่การส่งงานตรงเวลา การทำงานมอบหมายอย่างสม่ำเสมอ การสู้งาน การแก้ปัญหาในงานมอบหมาย
-การมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการกำหนดเกณฑ์ประเมินความรับผิดชอบได้แก่การส่งงานตรงเวลา การทำงานมอบหมายอย่างสม่ำเสมอ การสู้งาน การแก้ปัญหาในงานมอบหมาย
1 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและการแสดงออกต่อส่วนรวม
2 การประเมินโดยเพื่อน
3 ประเมินจากการส่งงานเป็นไปตามกำหนด
2 การประเมินโดยเพื่อน
3 ประเมินจากการส่งงานเป็นไปตามกำหนด
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
การค้นคว้างานที่มีความก้าวหน้าทางวิชาการ นำมาเสนอและอภิปรายร่วมกัน
การค้นคว้างานที่มีความก้าวหน้าทางวิชาการ นำมาเสนอและอภิปรายร่วมกัน
การนำเสนองาน
2 ข้อสอบอัตนัย
3 ข้อสอบปรนัย
2 ข้อสอบอัตนัย
3 ข้อสอบปรนัย
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ
การสอนแบบสาธิตและปฏิบัติ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2 การประเมินตนเอง
3 การนำเสนองาน
2 การประเมินตนเอง
3 การนำเสนองาน
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
-ให้โอกาสนักศึกษาในการเสนอความคิดเห็นอย่างเท่าเทียมกัน
-ทำงานกิจกรรมกลุ่ม
-ทำงานกิจกรรมกลุ่ม
การสังเกต
2 การนำเสนองาน
2 การนำเสนองาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แนะนำการนำเสนอโดยใช้สื่อต่างๆ
1 วิธีการนำเสนองาน
2 ความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจ
2 ความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจ
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.3, 5.1. | การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน | 1-16 | 10 |
2 | 3.1., 4.3, 5.1, 5..3 | การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน | 1-16 | 5 |
3 | 2.1, 2.2, 3.1. | การทดสอบย่อย 1 ครั้ง | 12 | 5 |
4 | 2.1., 2.2, 3.1 | การสอบกลางภาค | 9 | 20 |
5 | 3.1., 4.3, 5.1., 5..3 | การนำเสนองาน/การรายงาน | 5, 14 | 20 |
6 | 2.1., 2..2, 3.1. | การสอบปลายภาค การสอบปฏิบัติ | 15, 17 | 40 |
คณะบรรณาธิการสำนักพิมพ์บ้านและสวน. 2540. สารานุกรมไม้ประดับในประเทศไทยเล่ม 1. สำนักพิมพ์บ้านและสวน, บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิสซึ่งจำกัด, กรุงเทพฯ. 541 น.
ศีลศิริ สง่าจิตร. พืชสวนประดับ. เอกสารประกอบการสอน, มทร,ล้านนา พิษณุโลก. 297 น.
ศีลศิริ สง่าจิตร. ปฏิบัติการพืชสวนประดับ. เอกสารประกอบการสอน, มทร,ล้านนา พิษณุโลก. 150 น.
J. E. 1985. Ornamental Horticulture: Principles and Practices. State university of New York, Agricultural and Technical College, Cobleskill, Newyork.. 524 p.
ศีลศิริ สง่าจิตร. พืชสวนประดับ. เอกสารประกอบการสอน, มทร,ล้านนา พิษณุโลก. 297 น.
ศีลศิริ สง่าจิตร. ปฏิบัติการพืชสวนประดับ. เอกสารประกอบการสอน, มทร,ล้านนา พิษณุโลก. 150 น.
J. E. 1985. Ornamental Horticulture: Principles and Practices. State university of New York, Agricultural and Technical College, Cobleskill, Newyork.. 524 p.
หนังสือ วารสารสิ่งพิมพ์ ที่ออกเป็นรายปี รายเดือน รายสัปดาห์ในห้องสมุด
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับพืชสวนประดับต่างๆ
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา
1.1 ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจการสอนรายวิชาตามแบบฟอร์มมหาวิทยาลัยฯ
1.2 เขียนข้อเสนอแนะส่งอาจารย์ผู้สอนรายวิชา
1.1 ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจการสอนรายวิชาตามแบบฟอร์มมหาวิทยาลัยฯ
1.2 เขียนข้อเสนอแนะส่งอาจารย์ผู้สอนรายวิชา
ประเมินจากการสอบข้อเขียน และผลการเรียนของนักศึกษา
โดยพิจารณาจากการรวบรวมความคิดเห็นในชั้นเรียนของนักศึกษาในครั้งก่อน ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการสอนของนักศึกษา ผลการเรียนของนักศึกษา ได้ปรับปรุงการสอนโดยการเพิ่มทักษะในการปฏิบัติให้มากขึ้น กำหนดชนิดพืชให้มีความหลากหลาย เพื่อเป็นกรณีศึกษาให้กับนักศึกษา และเพิ่มข้อมูลชนิดพืชสวนประดับให้มีความเป็นปัจจุบันได้แก่การสำรวจตลาด ทั้งในท้องถิ่นและทางอินเตอร์เน็ต
การทวนสอบการให้คะแนน การรวมคะแนน จากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
เมื่อได้รับข้อมูลจากการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนของนักศึกษา และการรวบรวมความคิดเห็นในชั้นเรียนในการสอนครั้งก่อน นำมาปรับปรุงรายวิชาทั้งการสอนและเนื้อหา เปิดสอนครั้งแรกหลังการปรับปรุงหลักสูตร