การประลองทางวิศวกรรมเครื่องกล 1

Mechanical Engineering Laboratory 1

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติทางกลของวัสดุ เช่น การบิด การดึง การดัด ความแข็งแรงและความล้า การสั่นสะเทือนทางกล การสมดุล ทดลองความเร่ง ระบบเกียร์ ไจโรสโคป ทดลองเกี่ยวกับเครื่องยนต์ ระบบส่งกาลัง ระบบบังคับเลี้ยวและระบบเบรก
ไม่มี
         ฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับคุณสมบัติทางกลของวัสดุ เช่น การบิด การดึง การดัด ความแข็งแรงและความล้า การสั่นสะเทือนทางกล การสมดุล ทดลองความเร่ง ระบบเกียร์ ไจโรสโคป ทดลองเกี่ยวกับเครื่องยนต์ ระบบส่งกาลัง ระบบบังคับเลี้ยวและระบบเบรก
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ อย่างน้อย 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ของมหาวิทยาลัยฯ
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1. ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย  ปฏิบัติตามกฎกติกาที่กำหนดหรือได้ตกลงกันไว้ และ ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบ โดยเริ่มตั้งแต่การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา การส่งงานตามกำหนดเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัยฯ
2. ปลูกฝังเรื่องจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ ตลอดจนผล กระทบที่จะเกิดขึ้นต่อบุคคล สังคม และสิ่งแวดล้อม หากกระทำการโดยขาดจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1. การขานชื่อ  การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน  และการส่งงานตามกำหนดระยะเวลา
2. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง1.3.3 ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3. การกระทำทุจริตในการสอบ
1. มีความรู้และความเข้าใจในทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน  วิทยาศาสตร์พื้นฐาน และวิศวกรรมพื้นฐาน เพื่อประยุกต์ใช้กับการศึกษาของรายวิชาทางวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
2. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญเชิงทฤษฎีในเนื้อหาของรายวิชาสถิตศาสตร์
3. สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
4. สามารถวิเคราะห์ปัญหา และใช้ความรู้และทักษะที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชาสถิตศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาในงานจริงได้
1. บรรยายโดยเขียนบนกระดานประกอบกับการอ้างอิงในหนังสือ  ใช้สื่อการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์  ตลอดจนสื่อการสอนที่เป็นชิ้นงานจริง 
2.  มอบหมายแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. การทดสอบย่อย   สอบกลางภาคเรียน  และปลายภาคเรียน
2. ประเมินจากแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน 
1. มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
2. สามารถคิดวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาเพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาทางด้านวิศวกรรม เครื่องกลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อหาความรู้เพิ่มเติมและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้ใหม่ๆ
2. กรณีศึกษาการประยุกต์ความรู้ด้านสถิตศาสตร์ในงานทางวิศวกรรมเครื่องกล
3. ให้นักศึกษาค้นคว้า พร้อมทั้งจัดทำรายงานที่ได้จากการค้นคว้า
1. การทดสอบย่อย   สอบกลางภาคเรียน  และปลายภาคเรียน
2. ประเมินจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
1. มีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
2. รู้จักหน้าที่และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม
1. แบ่งกลุ่มให้ทำงานตามที่มอบหมาย  
2. ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม
1.  ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ    
2.  ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
3.  ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น และการตอบคำถามระหว่างกิจกรรมการ เรียนการสอน
1. สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
2. สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลได้
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning
2. ส่งเสริมการค้นคว้า  เรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้องทางวิศวกรรมศาสตร์ที่เหมาะสม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ตาม มคอ.2 1. สอบกลางภาค 2. สอบปลายภาค 9 17 35% 35%
2 ตาม มคอ.2 1.ประเมินจากการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มและการนำเสนอ รายงานหน้าชั้นเรียน 2. ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นและการตอบคำถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน 3. ประเมินจากการเขียนรายงานและเทคนิคการนำเสนอ ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 ตาม มคอ.2 1. ให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน 2. งานที่ได้รับมอบหมายและการส่งงานตามกำหนดระยะเวลา 3. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง 4. การกระทำทุจริตในการสอบ ตลอดภาคการศึกษา 10%
คู่มือปฏิบัติการประลองทางวิศวกรรมเครื่องกล 1
1. Vibration Analysis , Vierck R.K
2. วิศวกรรมการสั่นสะเทือน , มนตรี พิรุณเกษตร
3. เครื่องล่างและระบบส่งกาลัง ,ชาญ ถนัดงาน
4. กลศาสตร์วัสดุ , มนตรี พิรุณเกษตร
5. เอกสารเผยแพร่จากงานฝึกอบรมช่างยนต์ ฝ่ายบริการ บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทยจำกัด
ไม่มี
ประเมินจากผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
             ประเมินจากแบบประเมินผู้สอน แบบประเมินรายวิชา และการแสดงความคิดเห็นของนักศึกษา
นำผลการประเมินการสอนในข้อ  2 มาทำการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  เช่น การสัมมนาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน
ตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ4