กฎหมายธุรกิจ
Business Law
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเอกเทศสัญญา บรรพ 3 ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งได้กล่าวถึง ลักษณะของสัญญาซื้อขาย , แลกเปลี่ยน , ให้ , เช่าทรัพย์ , เช่าซื้อ ฯลฯ ตามหลักสูตรของวิชากฎหมายธุรกิจ ครอบคลุมเนื้อหาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เกือบทั้งหมด และยังรวมถึงกฎหมายอื่น ๆ เช่น กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดตั้งรูปแบบของธุรกิจ กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา ตลอดจนการสอดแทรกจริยธรรมในทางกฎหมายเพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้อย่างมีจริยธรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเอกเทศสัญญา บรรพ 3 ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งได้กล่าวถึง ลักษณะของสัญญาซื้อขาย , แลกเปลี่ยน , ให้ , เช่าทรัพย์ , เช่าซื้อ ฯลฯ ตามหลักสูตรของวิชากฎหมายธุรกิจ ครอบคลุมเนื้อหาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เกือบทั้งหมด และยังรวมถึงกฎหมายอื่น ๆ เช่น กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดตั้งรูปแบบของธุรกิจ กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา ตลอดจนการสอดแทรกจริยธรรมในทางกฎหมายเพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้อย่างมีจริยธรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน และทราบถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจ และสามารถนำข้อกฎหมายมาปรับกับข้อเท็จจริงเพื่อแก้ไขปัญหาด้านกฎหมายในทางธุรกิจที่เกิดขึ้นได้ และใช้กฎหมายธุรกิจอย่างสร้างสรรค์ ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับธุรกิจ เอกเทศสัญญาและสัญญาทางธุรกิจ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 ได้แก่ ลักษณะของสัญญาซื้อขาย, แลกเปลี่ยน, ให้, เช่าทรัพย์, เช่าซื้อ, ค้ำประกัน จำนอง จำนำ ฯลฯ ความรับผิดชอบต่อบุคคลภายนอกทั่วไปในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการจัดตั้งธุรกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วน และกฎหมายสำคัญอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่นกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา และจริยธรรมการใช้กฎหมาย
-อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของผู้อื่น โดยมีคุณธรรมจริยธรรมตามหลักสูตร ดังนี้
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและ
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 สามารถนำหลักกฎหมายไปใช้ได้อย่างถูกต้อง เป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของผู้อื่น โดยมีคุณธรรมจริยธรรมตามหลักสูตร ดังนี้
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและ
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 สามารถนำหลักกฎหมายไปใช้ได้อย่างถูกต้อง เป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 ตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา กฎหมายเกี่ยวกับรูปแบบการจัดตั้งธุรกิจ
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
1.2.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือแสดงบทบาทสมมุติ
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
1.2.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือแสดงบทบาทสมมุติ
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.2 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
มีความรู้ในหลักการความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับธุรกิจ เอกเทศสัญญาและสัญญาทางธุรกิจ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ได้แก่ ลักษณะของสัญญาซื้อขาย, แลกเปลี่ยน, ให้, เช่าทรัพย์, เช่าซื้อ, ค้ำประกัน จำนอง จำนำ ฯลฯ ความรับผิดชอบต่อบุคคลภายนอกทั่วไปในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการจัดตั้งธุรกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วน และกฎหมายสำคัญอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่นกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาและจริยธรรมการใช้กฎหมาย
มีความรู้ในหลักการความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับธุรกิจ เอกเทศสัญญาและสัญญาทางธุรกิจ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ได้แก่ ลักษณะของสัญญาซื้อขาย, แลกเปลี่ยน, ให้, เช่าทรัพย์, เช่าซื้อ, ค้ำประกัน จำนอง จำนำ ฯลฯ ความรับผิดชอบต่อบุคคลภายนอกทั่วไปในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการจัดตั้งธุรกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วน และกฎหมายสำคัญอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่นกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาและจริยธรรมการใช้กฎหมาย
บรรยาย อภิปราย การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความข้อมูลที่เกี่ยวข้อง การศึกษาโดยใช้คำพิพากษาศาลฎีกาเป็นบรรทัดฐานในการวิเคราะห์และพิจารณาหลักกฎหมาย และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือจากปัญหาในบทเรียน
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือจากปัญหาในบทเรียน
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
3.2.1 วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการใช้กฎหมาย การอ้างอิงหลักกฎหมาย
3.2.2 การสะท้อนแนวคิดจากพฤติกรรม
3.2.2 การสะท้อนแนวคิดจากพฤติกรรม
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค
3.3.2 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาในชั้นเรียน
3.3.2 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาในชั้นเรียน
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการร่วมทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการร่วมทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายรายงานกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าคำพิพากษาศาลฏีกา
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.2.2 มอบหมายรายงานกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าคำพิพากษาศาลฏีกา
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเองและเพื่อน
4.3.2 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
4.3.2 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
ไม่มี
ไม่มี
เรียนรู้จากการสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน การเข้าห้องเรียน ความสนใจในการเรียน
การตรงต่อเวลา การสอนและแนะนำด้วยวาจา
ความเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมที่เกิดขึ้น
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1คุณธรรมจริยธรรม | 2ความรู้ | 3ทักษะทางปัญญา | 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 |
1 | BBACC101 | กฎหมายธุรกิจ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1.1 5.1.1 | การทดสอบ - การสอบกลางภาค - การสอบปลายภาค | สัปดาห์ที่ 8 และ 17 | 25% 25% |
2 | 2.1.2 , 3.1.1 3.1.2 , 4.1.1 4.1.2 , 6.1.1 | วิเคราะห์กรณีศึกษา รายงาน และการนำเสนอ - งานที่มอบหมาย / รายงาน (กลุ่ม) - แบบฝึกหัด / กรณีศึกษา (เดี่ยว, กลุ่ม) - การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน (กลุ่ม) | สัปดาห์ที่ 1-17 | 20% 10% 10% |
3 | 1.1.1 , 1.1.2 | การเข้าชั้นเรียน - การเข้าชั้นเรียน / การมีส่วนร่วม / การเข้าร่วมกิจกรรม | สัปดาห์ที่ 1-17 | 10% |
. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
เอกสารประกอบการสอน รายวิชากฎหมายธุรกิจ (Business Law) เรียบเรียงโดย อาจารย์ธันย์นรี พรไพรเพชร
เอกสารประกอบการสอน รายวิชากฎหมายธุรกิจ (Business Law) เรียบเรียงโดย อาจารย์ธันย์นรี พรไพรเพชร
2. เอกสาร และข้อมูลสำคัญ
กรมทรัพย์สินทางปัญญา.ความรู้เบื้องต้นด้านทรัพย์สินทางปัญญา. (ม.ป.ท.), (ม.ป.ป.)
จักรพงษ์ เล็กสกุลไชย. คำอธิบายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง. กรุงเทพฯ: สักนักพิมพ์
นิติธรรม, 2546.
ดร.ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ, กฎหมายเบื้องต้นทางธุรกิจ (2553). สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพมหานคร.
ปรีชา สุมาวงศ์. คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้. กรุงเทพฯ :
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2520.
รศ.บุญเพราะ แสงเทียน, กฎหมายธุรกิจ (2550). สำนักพิมพ์วิทยพัฒน์ จำกัด,
กรุงเทพมหานคร.
รวมคำบรรยาย ภาคหนึ่ง สมัยที่ 68 ปีการศึกษา 2558. สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา.
สุพจน์ กู้มานะชัย.สัญญาทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : วิทยพัฒน์, 2549
กรมทรัพย์สินทางปัญญา.ความรู้เบื้องต้นด้านทรัพย์สินทางปัญญา. (ม.ป.ท.), (ม.ป.ป.)
จักรพงษ์ เล็กสกุลไชย. คำอธิบายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง. กรุงเทพฯ: สักนักพิมพ์
นิติธรรม, 2546.
ดร.ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ, กฎหมายเบื้องต้นทางธุรกิจ (2553). สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพมหานคร.
ปรีชา สุมาวงศ์. คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้. กรุงเทพฯ :
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2520.
รศ.บุญเพราะ แสงเทียน, กฎหมายธุรกิจ (2550). สำนักพิมพ์วิทยพัฒน์ จำกัด,
กรุงเทพมหานคร.
รวมคำบรรยาย ภาคหนึ่ง สมัยที่ 68 ปีการศึกษา 2558. สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา.
สุพจน์ กู้มานะชัย.สัญญาทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ : วิทยพัฒน์, 2549
3. เอกสาร และข้อมูลแนะนำ
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับกฎหมายธุรกิจ คำอธิบายศัพท์
-www.kodmhai.com
-www.krisdika.com
-www.customs.go.th
-www.parligment.go.th
-www.law.moi.go.th
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับกฎหมายธุรกิจ คำอธิบายศัพท์
-www.kodmhai.com
-www.krisdika.com
-www.customs.go.th
-www.parligment.go.th
-www.law.moi.go.th
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้โดยนักศึกษา หรือ การประเมินการสอนโดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบมหาวิทยาลัย) หรือ การเขียนสะท้อนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากนักศึกษา หลังจบบทเรียนในรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้โดยนักศึกษา หรือ การประเมินการสอนโดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบมหาวิทยาลัย) หรือ การเขียนสะท้อนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากนักศึกษา หลังจบบทเรียนในรายวิชา
. กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การประเมินตนเองหลังการสอน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้สอน หรือ
2.2 การประเมินตนเองหลังการสอน จากผลการเรียนของนักศึกษา พิจารณาจากคะแนนสอบ รายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย
** 2.3 การสังเกตการณ์สอนตามกิจกรรมการเรียนรู้ที่กำหนดโดยผู้ร่วมสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การประเมินตนเองหลังการสอน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้สอน หรือ
2.2 การประเมินตนเองหลังการสอน จากผลการเรียนของนักศึกษา พิจารณาจากคะแนนสอบ รายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย
** 2.3 การสังเกตการณ์สอนตามกิจกรรมการเรียนรู้ที่กำหนดโดยผู้ร่วมสอน
. การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Management) ร่วมกันระหว่างผู้สอน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
3.2 พัฒนาความรู้ความสามารถด้านการสอน โดยการอบรมสัมมนา
** 3.3 การทำวิจัยในชั้นเรียน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Management) ร่วมกันระหว่างผู้สอน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
3.2 พัฒนาความรู้ความสามารถด้านการสอน โดยการอบรมสัมมนา
** 3.3 การทำวิจัยในชั้นเรียน
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา โดยการแต่งตั้งกรรมการผู้รับผิดชอบ กรรมการบริหารหลักสูตร และกรรมการสาขาวิชาในสาขาวิชา เป็นผู้ดำเนินการ ดังนี้
4.1 การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยนักศึกษา
4.2 การประเมินการสอน โดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบของมหาวิทยาลัย)
4.3 การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมิน ตาม มคอ. 3/ มคอ. 5 โดยคณะกรรมการทวนสอบ
4.4 การประเมินข้อสอบ การปฏิบัติงาน และรายงานโครงการ การให้คะแนน ที่มาของเกรด โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือสาขาวิชา
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา โดยการแต่งตั้งกรรมการผู้รับผิดชอบ กรรมการบริหารหลักสูตร และกรรมการสาขาวิชาในสาขาวิชา เป็นผู้ดำเนินการ ดังนี้
4.1 การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยนักศึกษา
4.2 การประเมินการสอน โดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบของมหาวิทยาลัย)
4.3 การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมิน ตาม มคอ. 3/ มคอ. 5 โดยคณะกรรมการทวนสอบ
4.4 การประเมินข้อสอบ การปฏิบัติงาน และรายงานโครงการ การให้คะแนน ที่มาของเกรด โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือสาขาวิชา
. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา (ผล มคอ.5 เทอมที่แล้ว)
จากผลการประเมิน และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 รายงานผลการทวนสอบฯ ต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา
5.2 นำผลการทวนสอบฯ ไปรายงานใน มคอ.5 และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไป โดยอาจารย์ผู้สอน
5.3 นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยหัวหน้าหลักสูตร
จากผลการประเมิน และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 รายงานผลการทวนสอบฯ ต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา
5.2 นำผลการทวนสอบฯ ไปรายงานใน มคอ.5 และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไป โดยอาจารย์ผู้สอน
5.3 นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยหัวหน้าหลักสูตร