เทคนิคการสร้างสรรค์ลวดลายบนสิ่งทอ

Textiles Surface Design Technique

1.1 รู้ เกี่ยวกับประวัติ และที่มาของการสร้างสรรค์ลวดลายบนสิ่งทอ
1.2  เข้าใจการสร้างสรรค์ลวดลายให้เหมาะสมกับการใช้สอย และความต้องการทางธุรกิจ
1.3  มีทักษะเกี่ยวกับ เทคนิคและรูปแบบของการทำลวดลายบนวัสดุสิ่งทอ
1.4  มีทักษะในการออกแบบ และพัฒนาสร้างสรรค์ลวดลายบนวัสดุสิ่งทอ
1.5  มีทักษะในการผลิตลวดลายลงบนสิ่งทอประเภทต่างๆ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในประวัติ และที่มาของการสร้างสรรค์ลวดลายบนสิ่งทอด้วยกรรมวิธีต่างๆ  สามารถปฏิบัติเกี่ยวกับ กระบวนการ เทคนิคและรูปแบบของการทำลวดลายบนวัสดุสิ่งทอ พัฒนา สร้างสรรค์ลวดลายให้เหมาะสมกับการใช้สอย และตรงตามความต้องการทางธุรกิจในปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับประวัติและที่มาของการสร้างสรรค์ลวดลายบนสิ่งทอด้วยกรรมวิธีต่างๆ เทคนิคและรูปแบบของการทำลวดลายบนวัสดุสิ่งทอ กระบวนการผลิตลวดลายลงบนสิ่งทอประเภทต่างๆ การออกแบบ และพัฒนาสร้างสรรค์ลวดลายให้เหมาะสมกับการใช้สอย และความต้องการทางธุรกิจ
-  อาจารย์ผู้สอนประกาศช่วงเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
-  อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย 1  ชั่วโมง/สัปดาห์ 
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
กำหนดเวลาการส่งงานของนักศึกษา ให้ส่งงานตามเวลาที่กำหนด
ตรวจสอบการส่งผลงานตามกำหนดเวลา
2.1.2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.2.3  แนะนำแหล่งสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักศึกษาติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีทางด้านการสร้างสรรค์ลวดลายบนสิ่งทอ
2.2.4 บรรยาย  พูดคุยสอบถาม และมอบหมายงาน
2.3.1  จากผลงานที่มอบหมาย และการสังเกตผลสะท้อนจากการพูดคุย
3.1.1  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1  บรรยายพร้อมสื่อประกอบการสอนในด้านการสร้างสรรค์ลวดลายบนสิ่งทอด้วยกรรมวิธีต่างๆ เทคนิคและรูปแบบของการทำลวดลายบนวัสดุสิ่งทอ กระบวนการผลิตลวดลาย และการออกแบบ
3.2.3  บรรยายพร้อมสาธิต
3.2.4  มอบหมายงาน
3.2.3 พูดคุย ซักถาม และตั้งปัญหาให้ลองตอบ
3.3.1  สอบกลางภาค สอบปลายภาค จากผลงานที่มอบหมาย จากการสังเกตการแก้ปัญหา และตอบข้อคำถาม
4.1.1 สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
4.2.1  บรรยายการสร้างสรรค์ลวดลายให้เหมาะสมกับการใช้สอย และความต้องการทางธุรกิจด้วยการหาข้อมูลแบบเป็นทีม
4.2.2  มอบหมายงานกลุ่มในการสร้างสรรค์ลวดลายให้เหมาะสมกับการใช้สอยกับงานแต่ละประเภทและความต้องการทางธุรกิจ
4.3.1  จากการสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
4.3.2  จากผลงานที่มอบหมาย
5.1.1 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1  บรรยาย แนะนำ วิธีการสืบค้นข้อมูลในระบบ Internet และการใช้สื่อต่างๆ
5.3.1 จากผลงานที่มอบหมาย และการนำเสนอผลงาน
5.3.2 การสังเกตผลการค้นคว้าข้อมูลและการนำข้อมูลมาใช้
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 43041034 เทคนิคการสร้างสรรค์ลวดลายบนสิ่งทอ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 15% 15%
2 3 4, 5 การปฏิบัติงานและผลงาน การทำงานกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1 การเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.กฤตย์  เวียงอำพล.  การออกแบบเขียนแบบ.  กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้งเฮ้าส์.  2540.
2.  เครือจิต  ศรีบุญนาค.สุนทรียภาพของชีวิต.กรุงเทพฯ :เธิร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น. 2542.
3.  สุชาติ  เถาทอง.ศิลปะกับมนุษย์.กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.  2532.  
4.  นพวรรณ  หมั้นทรัพย์.การออกแบบเบื้องต้น.เชียงใหม่ : โชตนาพริ้นท์.2521.  
5.  นวลน้อย  บุญวงษ์.หลักการออกแบบ.กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.2539.  
6.  มนตรี  ยอดบางเตย.ออกแบบผลิตภัณฑ์.กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์.  2538.  
7.  วิบูลย์  ลี้สุวรรณ.ศิลปะกับชีวิต.กรุงเทพฯ :คอมแพคท์พริ้นท์.  2537.  
8.  อารี  รังสินันท์.ความคิดสร้างสรรค์.กรุงเทพฯ : ธนะการพิมพ์.2527.  
9.  บุญเยี่ยม  แย้มเมือง. สุนทรียะทางทัศนศิลป์. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์. 2537.
10.  จีรพันธ์  สมประสงค์. ประวัติศิลปะ. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์. 2533.
11. ดุษฎี  สุนทราชุน. การออกแบบลายพิมพ์ผ้า. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2531.
12. พีนาลิน  สาริยา. การออกแบบลวดลาย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2549.
13. อัจฉราพร  ไศละสูต. การออกแบบลวดลายผ้าและเทคนิคการพิมพ์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ :สหประชาพาณิช. 2524.
14. มนตรี  เลากิตติศักดิ์. เอกสารงานวิจัยลวดลายและลวดลายผ้าล้านนาเพื่อพัฒนาการใช้อัตลักษณ์ในการออกแบบลวดลายผ้า.เชียงใหม่ :โครงการวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, 2555.
15. Cheryl Rezendes. Fabric Surface Design. United States : Quad/Graphics. 2013.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำงานชนิดต่างๆ
www.surfacedesign.org
www.fitnyc.edu/textile-surface-design/
www.thinkcreativo.com
https://th-th.facebook.com/ncadtextilesurfacedesign2015/
การปะเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาดังนี้
1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน แบบประเมินผู้เรียน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังนี้
2.1  ผลงานของนักศึกษา
2.2  การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา
2.3  การทดสอบผลการเรียนรู้
2.4  แบบประเมินผู้สอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
3.1 ทบทวนเนื้อหาและวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดใน มคอ.2
3.2 หาแนวทางและวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน ตามผลของการประเมิน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา  โดยมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รวมในวิชาดังนี้
4.1 การทวนสอบข้อสอบให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาและการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
4.2 การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
          5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปีตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
          5.2 การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา