การบัญชีการเงิน

Financial Accounting

 

เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด หลักการเบื้องต้นของการบัญชีทั่วไป วงจรบัญชีสำหรับกิจการให้บริการ กิจการซื้อขายสินค้า และกิจการอุตสาหกรรม เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในการบันทึกบัญชีเบื้องต้นเกี่ยวกับ เงินสด ลูกหนี้ ตั๋วเงินรับ สินค้าคงเหลือ เงินลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน หนี้สินและส่วนของเจ้าของ เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทำรายงานทางการเงินของกิจการให้บริการ กิจการซื้อขายสินค้า และกิจการอุตสาหกรรม เพื่อฝึกหัดการนำ แนวคิด  หลักการ และวิธีการจัดทำบัญชีพร้อมออกงบการเงินได้อย่างถูกต้องเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนักศึกษา ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐานผลการเรียนรู้ ทั้ง 5 ด้านตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีทัศนคติทางวิชาชีพที่ดี โดยการอธิบายความสำคัญเกี่ยวกับการบัญชีเบื้องต้นให้นักศึกษาและเปิดโอกาสให้ได้ซักถามหรือแลกเปลี่ยนในหัวข้อความสำคัญของการบัญชี เพื่อชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของวิชาชีพบัญชี ในชั่วโมงแรกของการเรียน เพื่อพัฒนานักศึกษาในการมองภาพรวมของวงจรบัญชี โดยการนำนักศึกษาชมกิจการจริงหรือสถานการณ์จริง
ศึกษาและปฏิบัติความสำคัญของการบัญชีต่อประเภทธุรกิจ หลักการเบื้องต้นของการบัญชีทั่วไป และวงจรบัญชี ตลอดจนจัดทำรายงานทางการเงินสำหรับกิจการให้บริการ กิจการซื้อขายสินค้า และกิจการอุตสาหกรรม การบันทึกบัญชีเบื้องต้นเกี่ยวกับ เงินสด ลูกหนี้ ตั๋วเงินรับ สินค้าคงเหลือ เงินลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน หนี้สินและส่วนของเจ้าของ
          7  ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1 มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
1.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบัน และสังคม
1.3 สามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม
1.4 มีจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมีคุณธรรม
- บรรยาย โดยการใช้ MS Power Point หนังสือ บทความวิชาการ และงานวิจัย 
- พูดคุย โต้ตอบ
- สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม
- ให้นักศึกษาศึกษาด้วยตนเอง
- ให้นักศึกษาเขียนตอบและตอบปากเปล่า
-การพูดคุยโต้ตอบระหว่างนักศึกษาและผู้สอน 
-ประเมินจากผลงานของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมายงาน
2.1 มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี
2.2 มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชี โดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
2.3 มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์
2.4 สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
- บรรยาย โดยการใช้ MS Power Point หนังสือ บทความวิชาการ และงานวิจัย
- พูดคุย โต้ตอบ
- ให้นักศึกษา Self-study 
- ให้นักศึกษาเขียนตอบและตอบปากเปล่า
- การพูดคุยโต้ตอบระหว่างนักศึกษาและผู้สอน 
- ประเมินจากผลงานของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมายงาน
- การสอบ
3.1 สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่างๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
3.2 สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหารวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
3.3  สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
- บรรยาย โดยการใช้ MS Power Point หนังสือ บทความวิชาการ และงานวิจัย
- พูดคุย โต้ตอบ
- ให้นักศึกษา Self-study 
- ให้นักศึกษาเขียนตอบและตอบปากเปล่า
-การพูดคุยโต้ตอบระหว่างนักศึกษาและผู้สอน 
-ประเมินจากผลงานของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมายงาน
4.1 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
4.2 มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมงาน
4.4 มีความรับผิดชอบการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง
- บรรยาย โดยการใช้ MS Power Point หนังสือ บทความวิชาการ และงานวิจัย
- พูดคุย โต้ตอบ
- ให้นักศึกษา Self-study 
- มอบหมายงานกลุ่ม
- ให้นักศึกษาเขียนตอบและตอบปากเปล่า
-การพูดคุยโต้ตอบระหว่างนักศึกษาและผู้สอน 
-ประเมินจากผลงานของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมายงาน
5.1 มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง
5.2 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบ  การนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน
5.3 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมาย และการสื่อสารสารสนเทศ 
- บรรยาย โดยการใช้ MS Power Point หนังสือ บทความวิชาการ และงานวิจัย
- พูดคุย โต้ตอบ
- ให้นักศึกษา Self-study 
- ให้นักศึกษาเขียนตอบและตอบปากเปล่า
-การพูดคุยโต้ตอบระหว่างนักศึกษาและผู้สอน 
-ประเมินจากผลงานของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมายงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3
1 BACAC111 การบัญชีการเงิน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2,3,5 ทดสอบย่อย 1 ทดสอบย่อย 2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 4 14 9 17 15% 15% 25% 25%
2 2,3,4,5 วิเคราะห์กรณีศึกษา การทำแบบฝึกหัด และการส่งงานตามที่มอบหมาย ทุกสัปดาห์ 5%
3 2,3,4,5 การทำงานกลุ่มและรายงานผลงานกลุ่ม 4,12 10%
4 1,2,3,4,5 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย ความกล้าแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
นิตยา โหราเรือง การบัญชีการเงิน : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2560.
ณัฐวุฒิ  ทรัพย์สมบัติ. การบัญชีการเงิน Financial Accounting กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ท้อป, 2559.
2.1 มนัสชัย กีรติผจญ การบัญชีเบื้องต้น 1 : บริษัท สำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด, 2545.
2.2 เชาวลีย์ พงศ์ผาติโรจน์ และดร. วรศักดิ์ ทุมมานนท์ หลักการบัญชี 1 กรุงเทพฯ
2.3 รศ.สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ และอ.สมเดช โรจน์คุรีเสถียร การบัญชีขั้นต้น กรุงเทพ สำนักพิมพ์แมค กรอ-ฮิล, 2552.
2.4 ผศ.ชลลดา ชโลมกลาง การบัญชีขั้นต้น กรุงเทพฯ: บริษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จำกัด, 2553.
3.1 เวปไซด์ สภาพวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ www.fap.or.th
3.2 เวปไซด์ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ www.dbd.go.th
1.1 ให้นักศึกษาประเมินผลการสอนอาจารย์ผู้สอน ตามแบบประเมินของมหาวิทยาลัย
     2.1 พิจารณาจากผลคะแนนการสอบ
     2.2 พิจารณาจากงานที่มอบหมายให้
     2.3 พิจารณาจากพฤติกรรมและการมส่วนร่วมในชั้นเรียน
3.1 นำผลการประเมินประสิทธิผลการสอนรายวิชาโดยนักศึกษามาพิจารณาปรับปรุงการสอน
4.1 การทวนข้อสอบและเกณฑ์ที่ใช้วัดผลสัมฤทธิ์ให้สอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้
5.1 นำเอาผลการประเมินข้อ 1 และข้อ 2 มาวิเคราะห์และหาแนวพัฒนาปรับปรุงการเรียนการสอนสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้