ศิลปะไทย 5
Thai Art 5
1. เข้าใจกระบวนการถ่ายทอดแนวความคิดและคลี่คลายรูปแบบในงานศิลปะไทย
2. รู้จักเลือกหาเทคนิควิธีการทางศิลปะไทยให้เหมาะสมกับการแสดงออกทางงานศิลปะไทย
3. มีทักษะในการวิเคราะห์หารูปแบบ เนื้อหา เทคนิค ที่แสดงออกแบบเฉพาะตนในแนวทางงานศิลปะไทย
4. เห็นคุณค่าในการถ่ายทอดงานศิลปะไทย
2. รู้จักเลือกหาเทคนิควิธีการทางศิลปะไทยให้เหมาะสมกับการแสดงออกทางงานศิลปะไทย
3. มีทักษะในการวิเคราะห์หารูปแบบ เนื้อหา เทคนิค ที่แสดงออกแบบเฉพาะตนในแนวทางงานศิลปะไทย
4. เห็นคุณค่าในการถ่ายทอดงานศิลปะไทย
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชา ศิลปะไทย 3 สำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ วิชาเอกศิลปะไทย ซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับทักษะในทดลองสร้างสรรค์ผลงานให้มีลักษณะเฉพาะตนโดยการประยุกต์ความรู้ความสามารถจากความเข้าใจในงานศิลปะไทยและสิ่งแวดล้อมที่ใกล้ตัวมาใช้ในการพัฒนาผลงาน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับงานศิลปะไทยที่สูงขึ้นกว่าศิลปะไทย 4 ตามโครงการที่กำหนดให้และโครงการที่นักศึกษากำหนดเองเน้นการศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ เพื่อให้เข้าใจถึงความสัมพันธ์กันในรูปแบบ เนื้อหา เทคนิค และการแสดงออกของการสร้างสรรค์งานศิลปะไทยที่มีคุณค่าทางศิลปะและเอกลักษณ์เฉพาะตน
อาจารย์ผู้สอนจะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน จำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งจรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา สอนให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
1. มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ใช้การเรียนการสอน โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการปฏิบัติงาน ทั้งนี้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาศิลปะไทย 5 ตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชา
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
ในด้านต่าง ๆ คือ
๑. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
๒. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
๓. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
๔. ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
ในด้านต่าง ๆ คือ
๑. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
๒. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
๓. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
๔. ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ใช้กรณีศึกษา การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยว ร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษา และการนำเสนองาน
1. มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลโดยอ้างอิงแหล่งข้อมูล ที่ต้องอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยการนำเสนอที่เหมาะสมกับนักศึกษา
ประเมินจากการสืบค้นข้อมูล โดยการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการค้นหาข้อมูล ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ
1. มีทักษะในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ในการสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย
2. มีทักษะในการร่างและทำต้นแบบผลงานตามที่แต่ละบุคคลถนัดได้
สามารถสร้างสรรค์ผลงาน โดยใช้เทคนิคต่างๆได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถวิเคราะห์ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงาน
มีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงานที่แสดงเอกลักษณ์เฉพาะตนได้อย่างชัดเจน
2. มีทักษะในการร่างและทำต้นแบบผลงานตามที่แต่ละบุคคลถนัดได้
สามารถสร้างสรรค์ผลงาน โดยใช้เทคนิคต่างๆได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถวิเคราะห์ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงาน
มีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงานที่แสดงเอกลักษณ์เฉพาะตนได้อย่างชัดเจน
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีศึกษาแนวทางการสร้างสรรค์ ทำตามใบงาน และการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วย
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงานสร้างสรรค์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2.ด้านความรู้ | 3. ด้านทักษะ ทาง ปัญญา | 4. ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ | 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ด้านทักษะพิสัย | |||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 |
1 | 41014406 | ศิลปะไทย 5 |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ด้านคุณธรรมและจริยธรรม | - ประเมินจากการมีวินัยในการเข้าชั้นเรียน การเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ความรับผิด ชอบส่งงานตามกำหนด และมีความรับผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย | 1-17 | 10% |
2 | ด้านความรู้ | - ประเมินจากการทดสอบแต่ละหน่วยเรียน การสอบกลางภาค การสอบปลายภาคเรียน และผลงานที่ปฏิบัติ | 3,6,9,10,13,16,17 | 25% |
3 | ด้านปัญญา | - ประเมินจากเอกสารกระบวนการสร้างสรรค์ในแต่ละหน่วยเรียนและเอกสารก่อนเสนอหัวข้อศิลปนิพนธ์ | 3,6,10,13,16 | 10% |
4 | ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์ | - ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ | 1-8,10-16 | 10% |
5 | เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | -ประเมินจากการสืบค้นข้อมูล โดยการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการค้นหาข้อมูล ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ | 1-8,10-16 | 10% |
6 | ด้านทักษะพิสัย | - ประเมินจากการใช้วัสดุ แบบภาพร่างความคิด โดยสามารถสร้างสรรค์ผลงานในแต่ละหน่วยเรียน โดยใช้ เทคนิคต่างๆ ได้ | 1-8,10-16 | 35% |
หนังสือศิลปะไทยและศิลปะไทยร่วมสมัย สูจิบัตรการแสดงงานศิลปะ
- ชลูด นิ่มเสมอ การเข้าถึงศิลปะในงานจิตรกรรมไทย กรุงเทพฯ, บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊พ จำกัด, 2532. 116 หน้า ISBN-974-8359-02-6
-ชลูด นิ่มเสมอ. องค์ประกอบของศิลปะ. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ , 2553.
- ชลูด นิ่มเสมอ การเข้าถึงศิลปะในงานจิตรกรรมไทย กรุงเทพฯ, บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊พ จำกัด, 2532. 116 หน้า ISBN-974-8359-02-6
-ชลูด นิ่มเสมอ. องค์ประกอบของศิลปะ. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ , 2553.
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์งานศิลปะและประวัติศาสตร์ศิลปะไทย
- วารสาร ศิลปะทั้งในและต่างประเทศ เช่น Arts of asia , fine arts, C art ,art4D
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับศิลปะไทยและศิลปะไทยร่วมสมัย
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับศิลปะไทยและศิลปะไทยร่วมสมัย
-
- การสังเกตการณ์ และทีมผู้สอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การทำผลงานทางวิชาการ การสร้างสรรค์ศิลปะ
- การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
- การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา
- ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
- ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4