การควบคุมคุณภาพ
Quality Control
ศึกษาระบบควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต การเลือกใช้ในการควบคุมคุณภาพได้อย่างเหมาะสม เช่น ใบตรวจสอบ แผนภูมิควบคุมพาเรโต แผนภูมิเหตุและผล ฯลฯ ศึกษาการสร้างแผนภูมิควบคุมคุณภาพ กำหนดแผนการชักสิ่งตัวอย่าง เพื่อสร้างมาตรฐานคุณภาพให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล การดำเนินกิจกรรมกลุ่มสร้างคุณภาพ ศึกษาค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการมีระบบควบคุมคุณภาพ ความเชื่อถือได้ และการรับประกันซึ่งคุณภาพของผลิตภัณฑ์
เพื่อให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย และเพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าในระบบควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต การเลือกใช้ในการควบคุมคุณภาพได้อย่างเหมาะสม และสอดรับกับการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป
ศึกษาระบบควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต การเลือกใช้ในการควบคุมคุณภาพได้อย่างเหมาะสม เช่น ใบตรวจสอบ แผนภูมิควบคุมพาเรโต แผนภูมิเหตุและผล ฯลฯ ศึกษาการสร้างแผนภูมิควบคุมคุณภาพ กำหนดแผนการชักสิ่งตัวอย่าง เพื่อสร้างมาตรฐานคุณภาพให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล การดำเนินกิจกรรมกลุ่มสร้างคุณภาพ ศึกษาค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการมีระบบควบคุมคุณภาพ ความเชื่อถือได้ และการรับประกันซึ่งคุณภาพของผลิตภัณฑ์
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านระบบกลุ่ม Line ที่ตั้งร่วมกันกับนักศึกษา
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์สุจริต และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ของสาขาวิชา มหาวิทยาลัย และข้อตกลงกับอาจารย์ผู้สอน
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีเจตคติที่ดีในการในระบบควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต การเลือกใช้ในการควบคุมคุณภาพได้อย่างเหมาะสม
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีเจตคติที่ดีในการในระบบควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต การเลือกใช้ในการควบคุมคุณภาพได้อย่างเหมาะสม
- อธิบายให้นักศึกษารับทราบแนวทางการสอน
- กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม และนำเสนอข้อมูล ข้อเท็จจริง ตามหลักการควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต
- กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม และนำเสนอข้อมูล ข้อเท็จจริง ตามหลักการควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต
- ตรวจสอบเวลาการมาเรียนของนักศึกษา
- สังเกต และให้คะแนนการทำงานเป็นกลุ่ม และการนำเสนอ
- การซักถาม และ การแสดงความคิดเห็น
- สังเกต และให้คะแนนการทำงานเป็นกลุ่ม และการนำเสนอ
- การซักถาม และ การแสดงความคิดเห็น
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
2.2มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญในเชิงทฤษฎีของระบบควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต การเลือกใช้ในการควบคุมคุณภาพที่เหมาะสม
2.3 สามารถใช้ความรู้ของวิชาในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2.2มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญในเชิงทฤษฎีของระบบควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต การเลือกใช้ในการควบคุมคุณภาพที่เหมาะสม
2.3 สามารถใช้ความรู้ของวิชาในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
- บรรยาย ยกตัวอย่าง และให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง
- การให้นักศึกษา ตรวจสอบขนาดชิ้นงานจริงเพื่อเก็บข้อมูล
- การให้นักศึกษาแสดงการคำนวณ ด้านควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต
- การให้นักศึกษา ตรวจสอบขนาดชิ้นงานจริงเพื่อเก็บข้อมูล
- การให้นักศึกษาแสดงการคำนวณ ด้านควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต
- ประเมินจาก แบบทดสอบความรู้และการคำนวณด้านควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต
3.1 สามารถนำความรู้จากภาคทฤษฎีมาปรับใช้กับการปฏิบัติได้ถูกต้อง
3.2 มีความคิดที่ยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม
3.3 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.2 มีความคิดที่ยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม
3.3 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
- มอบหมายงานจาก ตัวอย่างที่เกิดขึ้นในการทำงานจริง ให้นักศึกษาทำการวิเคราะห์และเลือกวิธีการควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต
ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาทำการวิเคราะห์และเลือกวิธีการควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต
4.1 สามารถวางแผนการปฏิบัติงานและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.2 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม
4.3 สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.4 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบในการทำงาน และต่อสังคม
4.2 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม
4.3 สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.4 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบในการทำงาน และต่อสังคม
- กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม และนำเสนอข้อมูล ข้อเท็จจริง ตามหลักการควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต
- สังเกต และให้คะแนนการทำงานเป็นกลุ่ม และการนำเสนอ
- การซักถาม และ การแสดงความคิดเห็น
- การซักถาม และ การแสดงความคิดเห็น
5.1 สามารถใช้หลักการที่เรียนมาวิเคราะห์ คำนวณ ประกอบการพิจารณาในการแก้ไขกรณีตัวอย่างได้อย่างถูกต้อง
5.2สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยมาประกอบการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.3 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
5.2สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยมาประกอบการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.3 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
- บรรยาย ยกตัวอย่าง และให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองจากเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง
- การให้นักศึกษา ตรวจสอบขนาดชิ้นงานจริงเพื่อเก็บข้อมูล
- การให้นักศึกษานำเสนอข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
- การให้นักศึกษา ตรวจสอบขนาดชิ้นงานจริงเพื่อเก็บข้อมูล
- การให้นักศึกษานำเสนอข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาทำการวิเคราะห์ นำเสนอข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | มีเจตคติที่ดีในการในระบบควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต การเลือกใช้ในการควบคุมคุณภาพได้อย่างเหมาะสม | มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญในเชิงทฤษฎีของระบบควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต การเลือกใช้ในการควบคุมคุณภาพที่เหมาะสม | มีความคิดที่ยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม | รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม | สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยมาประกอบการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ | ||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | - อธิบายให้นักศึกษารับทราบแนวทางการสอน - กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม และนำเสนอข้อมูล ข้อเท็จจริง ตามหลักการควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต | - บรรยาย ยกตัวอย่าง และให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง - การให้นักศึกษา ตรวจสอบขนาดชิ้นงานจริงเพื่อเก็บข้อมูล - การให้นักศึกษาแสดงการคำนวณ ด้านควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต | - มอบหมายงานจาก ตัวอย่างที่เกิดขึ้นในการทำงานจริง ให้นักศึกษาทำการวิเคราะห์และเลือกวิธีการควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต | - กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม และนำเสนอข้อมูล ข้อเท็จจริง ตามหลักการควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต | - บรรยาย ยกตัวอย่าง และให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองจากเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง - การให้นักศึกษา ตรวจสอบขนาดชิ้นงานจริงเพื่อเก็บข้อมูล - การให้นักศึกษานำเสนอข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม |
1 | 34062304 | การควบคุมคุณภาพ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา - มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์สุจริต และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ของสาขาวิชา มหาวิทยาลัย และข้อตกลงกับอาจารย์ผู้สอน - มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น - มีเจตคติที่ดีในการในระบบควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต การเลือกใช้ในการควบคุมคุณภาพได้อย่างเหมาะสม | - การนำเสนอรายงาน - การเข้าชั้นเรียน - การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
2 | ความรู้ที่ต้องได้รับ - มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง - มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญในเชิงทฤษฎีของระบบควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต การเลือกใช้ในการควบคุมคุณภาพที่เหมาะสม - สามารถใช้ความรู้ของวิชาในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ | - การทำแบบฝึกหัด - การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษาจากการค้นคว้าการทำงานกลุ่มและผลงาน - การอภิปรายและเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 25% |
3 | ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา - สามารถนำความรู้จากภาคทฤษฎีมาปรับใช้กับการปฏิบัติได้ถูกต้อง - มีความคิดที่ยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม - สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ | - ให้นักศึกษาทำการวิเคราะห์และเลือกวิธีการควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต - การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษ | 25% |
4 | ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา - สามารถวางแผนการปฏิบัติงานและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง - รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม - สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ - มีจิตสำนึกความรับผิดชอบในการทำงาน และต่อสังคม | - สังเกต และให้คะแนนการทำงานเป็นกลุ่ม และการนำเสนอ - การซักถาม และ การแสดงความคิดเห็น | ตลอดภาคการศึกษา | 15% |
5 | ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - สามารถใช้หลักการที่เรียนมาวิเคราะห์ คำนวณ ประกอบการพิจารณาในการแก้ไขกรณีตัวอย่างได้อย่างถูกต้อง - สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยมาประกอบการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ - มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายได้อย่างถูกต้องเหมาะสม | - การทำแบบฝึกหัด - สื่อการนำเสนอรายงาน - วิธีการค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล การทำงานกลุ่มและผลงาน - การอภิปรายและเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 15% |
ศุภชัย อัครนรากุล.เอกสารประกอบการสอนวิชาการควบคุมคุณภาพ.สาขาวิศวกรรมมาพิมพ์.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในรายวิชา เช่น http://library.rmutl.ac.th/
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 การประเมินผู้สอน และการเสนอแนะของนักศึกษา
1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 การประเมินผู้สอน และการเสนอแนะของนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 ประชุมหารือการจัดการเรียนการสอน ในหลักสูตรเพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมกับนักศึกษา
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
- การตรวจสอบข้อสอบ ผลงานนักศึกษา วิธีการให้คะแนน
- การสุ่มนักศึกษา เพื่อทำการทดสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยไม่มีผลต่อการตัดเกรดของนักศึกษา
- การสุ่มนักศึกษา เพื่อทำการทดสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยไม่มีผลต่อการตัดเกรดของนักศึกษา
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรการดำเนินการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา และรับฟังความคิดเห็นจาหนักศึกษา เพื่อการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา หลังสิ้นสุดการเรียนการสอนในแต่ละภาคเรียน