การออกแบบเสียง

Sound Design

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการทำงานด้านการออกแบบเสียงในงานมัลติมีเดีย ขั้นตอน การผลิต ฝึกทักษะในการออกแบบและผลิตเสียงและดนตรี ฝึกทักษะและ เทคนิคการใช้ โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการออกแบบเสียงและดนตรี การ สร้างสรรค์ผลงาน ออกแบบเสียงหรือดนตรีรวมทั้งการทำงานร่วมกัน และความรับผิดชอบ    
ปรับปรุงสื่อการสอนให้เข้ากับเนื้อหาในปัจจุบัน เน้นการใช้งานโปรแกรมเสียงในรูปแบบ Studio และ Live ในสัดส่วนที่เท่า ๆ กัน กระชับเนื้อหาทางทฤษฏี เพิ่มแบบฝึกหัดปฏิบัติให้มากกว่าเดิม และเพิ่มการสอบปฏิบัติทั้งก่อนกลางภาคและปลายภาค
ศึกษากระบวนการทำงานด้านการออกแบบเสียงในงานมัลติมีเดีย ขั้นตอน การผลิต ฝึกทักษะในการออกแบบและผลิตเสียงและดนตรี ฝึกทักษะและ เทคนิคการใช้ โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการออกแบบเสียงและดนตรี การ สร้างสรรค์ผลงาน ออกแบบเสียงหรือดนตรี
2 ชั่วโมงโดยระบุ วัน เวลา ไว้ในตารางสอน แจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน และติดประกาศไว้ที่บอร์ดประจำสาขาวิชา
- แสดงออกซึ่งพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมที่สมาชิกที่มีคุณค่าของสังคมพึงมี อาทิ ซื่อสัตย์ มีจิตอาสา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เคารพกฎกติกาของสังคม
- มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพออกแบบสื่อสาร ความรู้ในเรื่องลิขสิทธิ์ในการทำงานออกแบบเสียง ทำงานตามข้อกำหนด ไม่ละเมิดหรือหาช่องทางเลี่ยงข้อกำหนดในการทำงาน
- มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
- เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
- บรรยายเรื่องการลอกเลียนผลงาน เปิดให้มีการวิพากษ์ และอภิปราย และข้อตกลงร่วมกันในการเรียน
- ปฏิบัติงาน
- การเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน
- การเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา การแต่งกาย
- ประเมินจากผลงานปฏิบัติ
- ประเมินจากพฤติกรรมการเรียน การวิพากษ์ แสดงความคิดเห็น
- มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสร้างงานออกแบบเสียง
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีในการทำงานออกแบบเสียง
- สามารถประยุกต์ใช้ความรู้การทำงานออกแบบเสียงกับงานอื่นๆได้
- บรรยาย
- สาธิต
- ประเมินจากการสอบข้อเขียน
- มีทักษะการปฏิบัติงานจากการวิเคราะห์ ประยุกต์ความรู้งานออกแบบเสียง
- สามารถทำงานได้ตามกระบวนการออกแบบ และสร้างงานได้อย่างเป็นระบบ
- มอบหมายงานบุคคล (งานในคาบเรียน)
- มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้า ฝึกปฏิบัติ)
- มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ส่งแบบร่าง โครงงาน)
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล (งานในคาบเรียน)
- ประเมินผลงานกลุ่ม (การตรวจแบบร่าง โครงงาน)
- ประเมินจากการสอบปฏิบัติ
- มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ ทั้งในฐานะผู้นำหรือสมาชิกของกลุ่ม
- สามารถแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในการริเริ่มสิ่งใหม่ แก้ปัญหาในสถานการณ์ที่ไม่ชัดเจน มีส่วนร่วมในการทำงาน การวิเคราะห์ปัญหา และการแก้ปัญหาในกลุ่ม
- สามารถทำงานเป็นทีม แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น โดยไม่ต้องผ่านอาจารย์ ได้อย่างเหมาะสม
- มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ส่งแบบร่าง โครงงาน)
- นำเสนอข้อมูล
- ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
- ประเมินจากผลงานกลุ่ม (การตรวจแบบร่าง โครงงาน)
- ประเมินจากการสังเกตปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
- สามารถสืบค้นและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้าวิจัย ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ เพื่อต่อยอดงานให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง      
- มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้า ฝึกปฏิบัติ)
- มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ส่งแบบร่าง โครงงาน)
- นำเสนอข้อมูล
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล (งานในคาบเรียน)
- ประเมินผลงานกลุ่ม (การตรวจแบบร่าง โครงงาน)
- ประเมินจากการนำเสนอ (การพูด การตอบคำถาม ความพร้อมของทีม)
- ประเมินจากการสอบข้อเขียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมที่สมาชิกที่มีคุณค่าของสังคมพึงมี อาทิ ซื่อสัตย์ มีจิตอาสา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เคารพกฎกติกาของสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพออกแบบสื่อสาร ความรู้ในเรื่องลิขสิทธิ์ในการทำงานออกแบบเสียง ทำงานตามข้อกำหนด ไม่ละเมิดหรือหาช่องทางเลี่ยงข้อกำหนดในการทำงาน มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสร้างงานออกแบบเสียง สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีในการทำงาน สามารถประยุกต์ใช้ความรู้การทำงานออกแบบเสียงกับงานอื่นๆได้ มีทักษะการปฏิบัติงานจากการวิเคราะห์ ประยุกต์ความรู้งานออกแบบเสียง สามารถทำงานได้ตามกระบวนการออกแบบ และสร้างงานได้อย่างเป็นระบบ มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ ทั้งในฐานะผู้นำหรือสมาชิกของกลุ่ม สามารถแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในการริเริ่มสิ่งใหม่ แก้ปัญหาในสถานการณ์ที่ไม่ชัดเจน มีส่วนร่วมในการทำงาน การวิเคราะห์ปัญหา และการแก้ปัญหาในกลุ่ม สามารถทำงานเป็นทีม แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น โดยไม่ต้องผ่านอาจารย์ ได้อย่างเหมาะสม สามารถสืบค้นและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้าวิจัย ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ เพื่อต่อยอดงานให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง
1 43012010 การออกแบบเสียง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 1.3 การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน จรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1-16 5 5
2 2.1, 2.2 การสอบข้อเขียน (สอบข้อเขียน สอบกลางภาค สอบปลายภาค สอบปฏิบัติ) 9, 17 20
3 1.2, 2.2, 5.2 ผลงานรายบุคคล สืบค้น และนำเสนอ 2, 5 5
4 3.1, 3.2 ผลงานรายบุคคล งานในคาบ 4-7 25
5 3.1, 3.2, 4.2, 4.3 ผลงานกลุ่ม งานในคาบ 8-14 25
6 3.1, 3.2, 4.2, 4.3 ผลงานกลุ่ม 15 5
7 5.1, 5.3 การนำเสนอ 15 5
8 4.1, 4.2, 4.3 การทำงานร่วมกัน 1-16 5
GarageBand ’09 / Mary Plummer.
Logic Pro9 and Logic Express 9
Logic pro 9 advanced music production.
The guide to MIDI orchestration /by Paul Gilreath.
วิทย์ ขันธศิริ. 2550 ดุริยางคศิลป์ตะวันตก (เบื้องต้น), กรุงเทพมหานคร : บริษัท วี. พริ้นท์ (1991) จำกัด.
โยธิน ฤทธิพงศ์ชูสิทธิ์. 2549 The Audio Engineer’s handbook, กรุงเทพมหานคร : บริษัท วีลสแควร์ จำกัด.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการออกแบบเสียง
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการออกแบบเสียงประกอบ
Garage Band.
https://www.apple.com/th/ios/garageband/
Logic Pro Audio.
https://www.apple.com/logic-pro/
เน้นการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของผู้เรียนโดยใช้วิธีการดังนี้
1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.2 การแสดงความคิดเห็น
1.3 การส่งข้อเสนอส่วนตัวให้ผู้สอน โดยการเขียนแสดงความคิดเห็นในการสอน ผ่านช่องทางต่างๆ               
1.4 การประเมินตนเองของผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 ผลการประเมินตามข้อ 1
2.3 การพัฒนาการทำงานของนักศึกษา
2.4 อาจารย์ผู้สอนประเมนิตัวเอง
  ความพึงพอใจการสอน
  ความเหมาะสมของการเตรียมการสอน
          ข้อควรปรับปรุงในการสอนครั้งต่อไป
3.1 บันทึกการสอนเพื่อเสนอการปรับปรุงแก้ไข
3.2 การประชุมคณาจารย์เพื่อปรับปรุงการสอน โดยใช้ข้อมูล ผลการประเมินของนักศึกษา ผลการเรียนของนักศึกษา การประเมินผลตนเอง บันทึกการสอน
4.1 ทวนสอบความถูกต้องของคะแนนอาจารย์ โดยประกาศคะแนนแต่ละส่วนให้นักศึกษาทวนสอบของตัวเอง เพื่อปรับปรุงแก้ไข
4.2 อาจารย์ทวนสอบการให้คะแนนกับพฤติกรรมของนักศึกษา
4.3 นักศึกษาประเมินตนเอง
4.4 ทวนสอบโดยกรรมการทวนสอบประจาหลักสูตร (สุ่มตรวจ)
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาในภาคการศึกษาต่อไป ในเรื่อง เนื้อหา ลำดับการสอน และวิธีประเมินผลการสอน