เครื่องหอมของชำร่วย
Incense and Souvenirs
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการทำเครื่องหอมและของชำร่วยและมีความเข้าใจเลือกใช้วัสดุ-อุปกรณ์การทำเครื่องหอมและของชำร่วยมีการออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องหอมและของชำร่วยแบบไทยและสากลมีทักษะการทำบรรจุภัณฑ์การจัดการผลิตและการจำหน่าย
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความหมายและความสำคัญของเครื่องหอมและของชำร่วยเข้าใจเลือกใช้ วัสดุ-อุปกรณ์การทำเครื่องหอมและของชำร่วยมีการวางแผนการออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องหอมและของชำร่วยแบบไทยและสากลมีทักษะการทำบรรจุภัณฑ์การจัดการผลิตเพื่อการจำหน่าย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการทำเครื่องหอมของชำร่วยแบบไทยและสากล การเลือกใช้ วัสดุ- อุปกรณ์การทำเครื่องหอมและของชำร่วยการเลือกบรรจุภัณฑ์เครื่องหอมและของชำร่วยการจัดการด้านการผลิตเครื่องหอมแบบไทยและสากลเพื่อการจำหน่าย
3.1 วันพุธ เวลา 08.00 – 14.00 น. ห้องพักครูสาขาอุตสาหกรรมเกษตร โทร 089 6386085
3.2 viriyajaree@hotmail.co.th เวลา 08.00 – 17.00 น. ทุกวัน
3.2 viriyajaree@hotmail.co.th เวลา 08.00 – 17.00 น. ทุกวัน
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ปฏิบัติตามระเบียบของการปฏิบัติการประดิษฐ์ของชำร่วยและเครื่องหอม
กำหนดให้นักศึกษาแบ่งเวรรับผิดชอบในการซื้อวัตถุดิบมาใช้ร่วมกันในชั้นเรียนและสังเกตจากการทำงานร่วมกันของกลุ่ม ตามที่ได้รับมอบหมาย
การสอนภาคทฤษฎีและปฏิบัติมีการตรวจเช็คความตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบตนเองและในการทำงานกลุ่มที่ต้องปฏิบัติการประดิษฐ์ของชำร่วยและเครื่องหอม
รับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในการทำงานกลุ่มร่วมกัน
รับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในการทำงานกลุ่มร่วมกัน
- ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน และการปฏิบัติการของชำร่วยและเครื่องหอมที่ได้รับมอบหมายเป็นกลุ่มและรายบุคคล
- การส่งงานในชั่วโมงและการบ้านที่ได้รับมอบหมายและการเตรียมวัสดุในการทำงานกลุ่มและรายบุคคล
- ตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน
- ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมกลุ่มร่วมกัน
- การส่งงานในชั่วโมงและการบ้านที่ได้รับมอบหมายและการเตรียมวัสดุในการทำงานกลุ่มและรายบุคคล
- ตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน
- ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมกลุ่มร่วมกัน
มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
สามารถบูรณาการความรู้กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
สามารถบูรณาการความรู้กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ใช้การสอนแบบบรรยาย ร่วมกับการใช้สื่อทางเทคโนโลยี และเปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามและตอบคำถาม
ใช้การสอนจากสื่อที่มีข้อมูลความเกี่ยวข้องทางด้านของชำร่วยและเครื่องหอม
การสอนด้วยการให้นักเรียนดัดแปลงการใช้วัสดุให้ร่วมสมัยหรือเป็นการสร้างสรรค์ชิ้นงานหรือการเลียนแบบของจริง
ให้นักศึกษาได้เรียนรู้และเข้าร่วมการอบรมการทำน้ำอบน้ำปรุงและน้ำหอมจากผู้ประกอบการงาน
ให้นักศึกษาได้เรียนรู้และเข้าร่วมการอบรมการทำน้ำอบน้ำปรุงและน้ำหอมจากผู้ประกอบการงาน
การสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
การส่งชิ้นงานที่ได้รับมอบหมาย
- การทำรายงานและรูปเล่ม
- การทำรายงานและรูปเล่ม
มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การสอนโดยการนำตัวอย่างของจริง
การสอนแบบบูรณาการให้ไปค้นคว้าจากผู้ประกอบการ และศึกษาด้วยตนเอง
การสอนการใช้เทคนิคการในการออกแบบชิ้นงานให้ร่วมสมัยและสามารถนำไปใช้งานได้จริง
การสอนการใช้เทคนิคการในการออกแบบชิ้นงานให้ร่วมสมัยและสามารถนำไปใช้งานได้จริง
- การฝึกปฏิบัติและทักษะในการเรียนของชำร่วยและเครื่องหอมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
-การส่งชิ้นงานของชำร่วยและเครื่องหอม
- ประเมินจากการฝึกปฏิบัติและทักษะในการเรียนของชำร่วยและเครื่องหอม
-การส่งชิ้นงานของชำร่วยและเครื่องหอม
- ประเมินจากการฝึกปฏิบัติและทักษะในการเรียนของชำร่วยและเครื่องหอม
มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดี
มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
การปฏิบัติงานของนักศึกษาที่นักศึกษาต้องมีปฏิสัมพันธ์ของนักศึกษาจากกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงปฏิบัติการ
มอบหมายงานกลุ่มจากกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงปฏิบัติการ
การทำงานกลุ่มร่วมกันในการฝึกปฏิบัติการอบรม การคิดต้นทุนและ การจัดจำหน่ายชิ้นงาน
มอบหมายการออกแบบชิ้น
มอบหมายการออกแบบชิ้น
- การฝึกปฏิบัติและทักษะในการเรียนของชำร่วยและเครื่องหอมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
-การส่งชิ้นงานของชำร่วยและเครื่องหอม
- ประเมินจากการฝึกปฏิบัติและทักษะในการเรียนของชำร่วยและเครื่องหอม
-การส่งชิ้นงานของชำร่วยและเครื่องหอม
- ประเมินจากการฝึกปฏิบัติและทักษะในการเรียนของชำร่วยและเครื่องหอม
สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่าง ประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่าง ประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การสอนโดยใช้อินเตอร์เน็ต
การมอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศในการทำรายงาน
การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินทักษะของชิ้นงาน และการใช้วัสดุ-อุปกรณ์เหมาะสม
- ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบัติในแต่ละชั่วโมงการปฏิบัติงาน
- ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบัติในแต่ละชั่วโมงการปฏิบัติงาน
- ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.คุณธรรมจริยธรรม | 2.ความรู้ | 3.ทักษะทางปัญญา | 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ | 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 1 | 1 | 1 | 2 | 2 | 2 | 3 | 3 | 4 | 4 | 4 | 4 | 5 | 5 | 5 |
1 | 24051221 | เครื่องหอมของชำร่วย |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ด้านคุณธรรม จริยธรรม | การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การเตรียมความพร้อมทั้งวัสดุและอุปกรณ์ การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10 % |
2 | ด้านคุณธรรม จริยธรรม | การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การเตรียมความพร้อมทั้งวัสดุและอุปกรณ์ การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10 % |
3 | ด้านทักษะทางปัญญา | สอบกลางภาค สอบปลายภาค ภาคปฏิบัติการออกแบบชิ้นงานเครื่องหอมและของชำร่วย | 9 17 | 10 % 10 % 10 % |
4 | ด้านความสัมพันธ์ความรับผิดชอบ | การให้คะแนนของเพื่อนร่วมห้อง | ตลอดภาคเรียน | 5 % |
5 | ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร | รูปเล่มโครงงานการ | 1-15 | 10% |
6 | ด้านการปฏิบัติงาน | การสังเกตการณ์ปฏิบัติงาน งานที่มอบหมาย และผลงานสำเร็จ (ภาคปฏิบัติ) | ตลอดภาคเรียน | 5 % |
กัณหา อัมพวัน. งานร้อยดอกไม้. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2536.
เกสร สุนทรเสรี. หนังสือเรียนกลุ่มวิชาการงานและอาชีพ ง 015 งานผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-2. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2536.
เครื่องหอม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พระจันทร์, 2521 (จัดพิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ หม่อมหลวงฟ่อน สนิทวงศ์ ณ เมรุวัดสังเวชวิศยาราม เมื่อ 10 เมษายน 2501.
จันทนา สุวรรณมาลี. มาลัย. กรุงเทพฯ: โอ.เอส. พรินติ้งเฮาส์. 2533.
ชุมสาย สวนสิริ. ดอกไม้สด. กรุงเทพฯ: ศรีสยามการพิมพ์, 2534.
ดุษฎี บริพัตร. (เรียบเรียง). คู่มือพับผ้าเช็ดหน้า. กรุงเทพฯ: แสงศิลปะการพิมพ์, 2534.
ทำนอง จันทิมา. การออกแบบ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2532.
นันทวัน กลิ่นจำปา, เครื่องหอมไทย ภูมิปัญญาไทย. (กรุงเทพฯ:ส.เอเซียเพรส. 2545)
วันเพ็ญ พงษ์เก่า. “ บุหงาวาเลนไทน์ “, ประดิดประดอย, 5 (กุมภาพันธ์ 2538) , 43-47
โสภาพรรณ อมตะเดชะ, เครื่องหอมของชำร่วย. กรุงเทพฯ: ศรีสยามการพิมพ์, 2536.
เกสร สุนทรเสรี. หนังสือเรียนกลุ่มวิชาการงานและอาชีพ ง 015 งานผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-2. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2536.
เครื่องหอม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พระจันทร์, 2521 (จัดพิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ หม่อมหลวงฟ่อน สนิทวงศ์ ณ เมรุวัดสังเวชวิศยาราม เมื่อ 10 เมษายน 2501.
จันทนา สุวรรณมาลี. มาลัย. กรุงเทพฯ: โอ.เอส. พรินติ้งเฮาส์. 2533.
ชุมสาย สวนสิริ. ดอกไม้สด. กรุงเทพฯ: ศรีสยามการพิมพ์, 2534.
ดุษฎี บริพัตร. (เรียบเรียง). คู่มือพับผ้าเช็ดหน้า. กรุงเทพฯ: แสงศิลปะการพิมพ์, 2534.
ทำนอง จันทิมา. การออกแบบ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2532.
นันทวัน กลิ่นจำปา, เครื่องหอมไทย ภูมิปัญญาไทย. (กรุงเทพฯ:ส.เอเซียเพรส. 2545)
วันเพ็ญ พงษ์เก่า. “ บุหงาวาเลนไทน์ “, ประดิดประดอย, 5 (กุมภาพันธ์ 2538) , 43-47
โสภาพรรณ อมตะเดชะ, เครื่องหอมของชำร่วย. กรุงเทพฯ: ศรีสยามการพิมพ์, 2536.
www.kkw.rmutr.ac.th/thai/thaidept/h1.
oknation.nationtv.tv/blog/Butterflies/2016/09/18/entry-2
https://www.dek-d.com/board/view/3803615/
https://th-th.facebook.com/น้ำอบไทยช่อแก้ว-426279597525811/
https://kruafha2498.weebly.com/
unchlashop.lnwshop.com › บทความ
https://www.wedcy.com/gift/
https://www.happywedding.life/th/tips/wedding-gift-card/wedding-gift.../30367
oknation.nationtv.tv/blog/Butterflies/2016/09/18/entry-2
https://www.dek-d.com/board/view/3803615/
https://th-th.facebook.com/น้ำอบไทยช่อแก้ว-426279597525811/
https://kruafha2498.weebly.com/
unchlashop.lnwshop.com › บทความ
https://www.wedcy.com/gift/
https://www.happywedding.life/th/tips/wedding-gift-card/wedding-gift.../30367
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 รายงานผลการฝึกปฏิบัติการประดิษฐ์เครื่องหอมและของชำร่วย
1.2 ความสนใจและตั้งใจในการทำงาน
1.3 ผลการเรียนของนักศึกษา
1.4 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินเพื่อนในรายวิชา
1.1 รายงานผลการฝึกปฏิบัติการประดิษฐ์เครื่องหอมและของชำร่วย
1.2 ความสนใจและตั้งใจในการทำงาน
1.3 ผลการเรียนของนักศึกษา
1.4 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินเพื่อนในรายวิชา
กลยุทธ์ในการประเมินการสอนในรายวิชานี้ ดูผลจากผลการประเมินผู้สอนของนักศึกษาและนำข้อมูลที่ได้มาดำเนินการปรับปรุงหรือเพิ่มประสิทธิภาพการสอนต่อไป
ฝึกปฏิบัติงานเครื่องหอมและของชำร่วยให้ทันสมัยในด้านการใช้วัสดุและอุปกรณ์
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการโดยดูจากผลการประเมินของนักศึกษาที่มีต่อรายวิชา
4.2 มีการสุ่มตรวจของผู้รับผิดชอบหลักสูตร
4.1 การทวนสอบการโดยดูจากผลการประเมินของนักศึกษาที่มีต่อรายวิชา
4.2 มีการสุ่มตรวจของผู้รับผิดชอบหลักสูตร
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก5 ปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 มีการนำแนวคิดการแปรรูปอาหารแบบใหม่ที่ได้จากงานวิจัยเข้ามาใช้ในการปรับปรุงการสอนให้ดีเพิ่มขึ้น
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก5 ปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 มีการนำแนวคิดการแปรรูปอาหารแบบใหม่ที่ได้จากงานวิจัยเข้ามาใช้ในการปรับปรุงการสอนให้ดีเพิ่มขึ้น