หลักเคมี 1

Principles of Chemistry 1

:  เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้
          1. เข้าใจโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
          2. เข้าใจหลักการในการเกิดพันธะเคมี  สารละลาย  กรด เบส เกลือ ปฏิกิริยาเคมีและไฟฟ้าเคมี  อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี  และสมดุลเคมี
          3. เข้าใจโครงสร้าง  สมบัติ  และประโยชน์ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์
          4. นำความรู้ทางเคมีไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
1. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีทางเคมีพื้นฐานเพิ่มขึ้น
          2. นักศึกษานำความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง
          3. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และเกิดแนวคิดต่อยอดสร้างผลงานของตนเองจากผลงานวิจัยของอาจารย์ผู้สอน
               ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ  พันธะเคมี         สารละลาย  กรด เบส เกลือ  ปฏิกิริยาเคมีและไฟฟ้าเคมี  อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีและสมดุลเคมี  สารประกอบไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์
 
Study about Atomic structure and Periodic, Chemical bond, Solution, Acid-Base, Salt, Chemical reaction and Electrochemistry, Rate of chemical reaction and Chemical equilibrium, Hydrocarbon compound and Derivatives.
1.30 ชั่วโมงต่อชั่วโมง
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
ตรวจเช็คเครื่องแต่งกาย เช็คชื่อเข้าชั้นเรียน ตรวจผลงานมอบหมาย
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมระหว่างการสอน
- กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎ ระเบียบและข้อบังคับ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- มอบหมายงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
- ประเมินจากการแต่งกายถูกระเบียบ มหาวิทยาลัยฯ
- เช็คชื่อเข้าห้องเรียน
- ตรวจผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
มีแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมงเรียน มอบหมายให้ทำปุ๋ยหมักและปลูกไม้ประดับเป็นกลุ่ม
 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- บรรยาย อภิปราย
- การทำแบบฝึกหัด
- การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน
- ประเมินผลจากการสอบกลางภาคและปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฎี
- ประเมินผลจากแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมงเรียน
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
และการนำเสนอผลงาน
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- ให้ทำแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมงเรียน สังเกตความตั้งใจทำแบบฝึกหัด
- ให้ท่องธาตุ20ตัวแรกในตารางธาตุ
- ให้เขียนธาตุ 8 หมู่ย่อย A
- มอบหมายให้ทำงานกลุ่มและนำเสนอ
- มอบหมายงานรายบุคคล
- มีแบบฝึกหัดให้นักศึกษาฝึกแก้ปัญหาในรูปแบบต่างๆ
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย และการนำเสนอ
- ประเมินผลจากแบบฝึกหัด
- สังเกตพฤติกรรมการทำแบบฝึกหัด
- ประเมินจากการท่องธาตุและเขียนธาตุ
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
มอบหมายให้ทำปุ๋ยหมักและปลูกไม้ประดับเป็นกลุ่ม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- มอบหมายงานกลุ่ม การนำเสนอรายงานและอภิปรายกลุ่ม
- ประเมินจากผลงานที่ทำและรายงานที่นำเสนอ 
- สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
มอบหายให้สืบค้นสูตรปุ๋ย และนำเสนอโดยใช้สื่อเทคโนโลยี
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-มีการอธิบายเชิงทฤษฎีแล้วแสดงวิธีคำนวณที่สอดคล้องกับทฤษฎีเหล่านั้น
- การนำเสนอโดยใช้รูปแบบ  เครื่องมือ  และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอ โดยใช้สถิติ
- ประเมินจากการนำเสนอโดยใช้รูปแบบ  เครื่องมือ  และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ผลิตผลงานที่นำความรู้เคมีผสมกับสารธรรมชาติ
มอบหมายงาน
ตรวจจากชิ้นงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ตรวจเช็คเครื่องแต่งกาย เช็คชื่อเข้าชั้นเรียน ตรวจผลงานมอบหมาย 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา มีแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมงเรียน มอบหมายให้ทำปุ๋ยหมักและปลูกไม้ประดับเป็นกลุ่ม 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 22021101 หลักเคมี 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 9 17 25 25
2 2.1, 3.1, 3.2, 4.3, 5.2 - ทดสอบย่อย - การทำงานกลุ่มและการนำเสนอผลงานที่มีการสืบค้นอย่างถูกต้อง - การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40
3 1.3 2.1 3.2 - การเข้าชั้นเรียน - การส่งงานตามที่มอบหมายตรงเวลาและไม่คัดลอกงานของผู้อื่น - การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
- เอกสารประกอบการเรียน วิชาหลักเคมี 1
- แบบฝึกหัดจาก Internet
- หนังสือเกี่ยวกับการทำปุ๋ยหมัก
- หนังสือเกี่ยวกับการปลูกไม้ประดับ
 
       1) ทบวงมหาวิทยาลัย. 2540. เคมี เล่ม 1-2, สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ
       2) ชัยวัฒน์ เจนวาณิชย์. 2541.หลักเคมี เล่ม 1-2. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ
       3) ภาควิชาเคมี  คณะวิทยาศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.2535.เคมีทั่วไป 1. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
       6) ภาควิชาเคมี  คณะวิทยาศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.2535.เคมีทั่วไป 2. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
       7) ศศิธร  ปรือทอง. 2557 เอกสารประกอบการสอนวิชาหลักเคมี1.(ฉบับปรับปรุง 2550) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ จัดทำโดยนักศึกษา ได้ดังนี้
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
๒. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของผู้ร่วมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2  มีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดประชุมเพื่อปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนหรือทำการวิจัย
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา เช่น การสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา หรือผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวม
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 2 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ที่หลากหลาย


 5.3  นำความรู้ที่ได้จากงานวิจัยหรืองานบริการวิชาการมาเสริมในการเรียนการสอน