การคิดและการตัดสินใจเชิงวิทยาศาสตร์

Thinking and Making Decision Scientifically

1.1  เข้าใจในกระบวนการคิดและแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
1.2  สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารอย่างมีเหตุผล
1.3  เข้าใจกระบวนการตัดสินใจ โดยใช้ตรรกศาสตร์และการประยุกต์ ใช้หลักการคิดทาง
วิทยาศาสตร์ เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน
1.4  มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน และนำกระบวนการคิดทางวิทยาศาสตร์ไปเป็นพื้นฐานปรับใช้ในการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน และนำกระบวนการคิดทางวิทยาศาสตร์ไปเป็นพื้นฐานปรับใช้ในการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
                   1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
                   2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
                   3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
                   4) เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. การสอนแบบบรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม จริยธรรมที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งให้นักศึกษาอภิปรายกลุ่ม
2. การมอบหมายงานให้นักศึกษาหาตัวอย่าง หรือหากรณีศึกษา  โดยอาจารย์ผู้สอนให้ความสำคัญต่อการมีวินัย  การต่อตรงเวลา  การส่งงานในเวลาที่กำหนด
3. เน้นให้นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม จากเนื้อหาที่ได้เรียนรู้
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2. ความมีวินัยและความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
                   1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
                   2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
                   3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
การสอนแบบบรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1.โครงการกลุ่ม
2.การนำเสนองาน
3.ทดสอบย่อย
4.ข้อสอบอัตนัย
                   1) มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
                    2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)  
การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)    
1. การสังเกตุ
2. การนำเสนองาน
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ทดสอบย่อย
                   1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
                   2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                   3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
                   4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล โดยกำหนดขอบเขตงานเป็นการนำความรู้ที่ได้จากบทเรียนไปประยุกต์ใช้กับสถานการณ์จริงได้อย่างเหมาะสม
2. การนำเสนอรายงาน
1. การสังเกตุ
2. โครงการกลุ่ม
3. การนำเสนองาน
                   1) สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
                   2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
                   3) สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. ใช้  Power point  
2. มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
3. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
4. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. การนำเสนองาน
2. โครงการกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่นๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์ สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ทั้งฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มอย่างมีประสิทธิภาพ วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ มีวิจารณญานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมาย และสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสถานการณ์โลก โยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
1 22000004 การคิดและการตัดสินใจเชิงวิทยาศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 - สอบรายหน่วย -สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 4,9,13,17 50
2 2.1, 3.1, 3.2, 4.3, 5.2 - ทดสอบย่อย - การทำงานกลุ่มและนำเสนอผลงาน - การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40
3 1.3 2.1 3.2 - การเข้าชั้นเรียน - การส่งงานตามที่มอบหมายตรงเวลา - การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
ศรีสุรางค์ ทีนะกุล. การคิดและการตัดสินใจ. กรุงเทพฯ : เธิร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น, 2542.
คณาจารย์โปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์และสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. การคิดและการตัดสินใจ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2552.
-  เอกสารเกี่ยวกับการทำ mind map
กัลยา วานิชย์บัญชา. หลักสถิติ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.2539
ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท์. ความน่าจะเป็นและสถิติประยุกต์ เล่ม 1-2. กรุงเทพฯ: สกายบุ๊กส์. 2546
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ จัดทำโดยนักศึกษา ได้ดังนี้
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 มีการปรับปรุงการสอนเพื่อปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา เช่น การสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา หรือผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวม
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
ปรับปรุงรายวิชาทุก 2 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4