การประกันคุณภาพทางการศึกษา

Educational Quality Assurance

เพื่อให้นักศึกษา
              1. รู้ความสำคัญของการประกันคุณภาพของการศึกษา           
            2. เข้าใจหลักการและกระบวนการการดำเนินกิจกรรมการประกันคุณภาพของการศึกษา
            3. เข้าใจมาตรฐานการศึกษาและองค์ประกอบของการประกันคุณภาพของการศึกษา 
            4. มีความรู้ในการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพและการเขียนรายงานการประเมินตัวเอง
            5. รู้วิธีการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาของอาชีวศึกษา
            6. มีทัศนคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพครู
      เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ขั้นพื้นฐาน เข้าใจในเรื่องความสำคัญของการประกันคุณภาพของการศึกษา 
ภายในและภายนอก  มาตรฐานการอาชีวศึกษาและการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ด้านอาชีวศึกษาที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนด้านวิชาชีพช่างอุตสาหกรรม
       สอศ. มีการปรับเปลี่ยนมาตรฐานการอาชีวศึกษาและตัวบ่งชี้
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการ แนวคิด แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษาภายในและภายนอก อุดมการณ์และหลักการในการจัดการอาชีวศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรฐานการอาชีวศึกษา หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ตระหนักในความสำคัญของคุณธรรมจริยธรรม  มีจรรยาบรรณวิชาชีพตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม

(· ผลการเรียนรู้ข้อ 1.1)

มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ (· ผลการเรียนรู้ข้อ 1.2) มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.3)

เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.4)
1.2.1 สอนสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรม
1.2.2 เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง ตามระเบียบข้อบังคับของ
                        มหาวิทยาลัย
1.2.3 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา   การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.4 ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ
1.3.1   สังเกตการแต่งกาย และการกระทำผิดวินัย
1.3.2   เช็คชื่อทุกครั้งที่ทำการสอน
1.3.3   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.2,1.4)
2.1.1 ความสำคัญของการประกันคุณภาพของการศึกษา
2.1.2 หลักการและกระบวนการการดำเนินกิจกรรมการประกันคุณภาพของการศึกษา          
2.1.3 มาตรฐานการศึกษาและองค์ประกอบของการประกันคุณภาพของการศึกษา 
2.1.4 การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพและการเขียนรายงานการประเมินตัวเอง 
2.1.5 การตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาของอาชีวศึกษา
2.1.6 มีทัศนคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพครู
2.1.7 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
          (· ผลการเรียนรู้ข้อ 2.3)                   
       2.2.1 บรรยาย (ผลการเรียนรู้ข้อ 2.1-2.3, 3.1-3.2, 5.1-5.3, 6.1-6.2)
              2.2.2 การฝึกเขียนรายงานการประเมินตนเอง
                2.2.3 การฝึกตรวจรายงานการประเมินตนเอง
2.3.1   สอบกลางภาค (ผลการเรียนรู้ข้อ 2.1-2.3, 3.2, 5.3)
2.3.2    สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
            (ผลการเรียนรู้ข้อ 2.1-2.3, 3.2, 5.3)
      2.3.3   ประเมินจากผลการฝึกเขียนและตรวจรายงานการประเมินตนเอง
                 (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.2-1.4, 2.1-2.3, 3.1-3.2, 4.1-4.3, 5.1-5.3, 6.1-6.2)
                 
                  3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทางด้าน
                                ก. การฝึกเขียนรายงานการประเมินตนเอง
                                ข. การฝึกตรวจรายงานการประเมินตนเอง
                      3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ (· ผลการเรียนรู้ข้อ 3.2)          
               
                3.2.1   การมอบให้นักศึกษา
                        ก. ฝึกเขียนรายงานการประเมินตนเอง
                        ข. ฝึกตรวจรายงานการประเมินตนเอง
    3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.3.1   ประเมินจากผลการทำงานและการรายงานหน้าชั้นเรียน
3.3.2   วัดผลจากการสอบภาคทฤษฎี
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ปัญหา
              4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี ( ผลการเรียนรู้ข้อ 4.1)      
              4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ ( ผลการเรียนรู้ข้อ 4.2)
              4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
                     ( ผลการเรียนรู้ข้อ 4.3)
             4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
                     ( ผลการเรียนรู้ข้อ 4.4)
4.2.1   มอบหมายงานให้ค้นคว้าเป็นกลุ่ม
4.2.2   มอบหมายให้รายงานหน้าชั้นและมีการแสดงความเห็น ยอมรับฟังความคิดเห็นของเพื่อนร่วมชั้นเรียน
4.3.1   ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
       5.1.1          สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม ( ผลการเรียนรู้ข้อ 5.1)
             5.1.2  สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม  ( ผลการเรียนรู้ข้อ 5.2)
            5.1.3   สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                         ( ผลการเรียนรู้ข้อ 5.3)
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าและนำเสนอด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้าน Mindmap
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม ( ผลการเรียนรู้ข้อ 6.1)
            6.2 มีทักษะด้านการสอนในสายวิชาชีพที่เด่นชัด ( ผลการเรียนรู้ข้อ 6.2)
       6.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าและนำเสนอด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้าน Mindmap
       6.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
       6.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1-2.3, 3.2, 5.3 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 17 5% 25% 5% 25%
2 1.2-1.4, 2.1-2.3, 3.1-3.2, 4.1-4.3, 5.1-5.3, 6.1-6.2 การทำงานกลุ่ม ค้นคว้าและการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย 1. การประกันคุณภาพการศึกษานำเสนอในรูป Mindmap (10 คะแนน) 2. ประชาสัมพันธ์ความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา (5 คะแนน) งานรายบุคคล การทำรายงานการประเมินตนเอง (10 คะแนน) 30%
3 1.2,1.4, 2.1-2.3, 3.1-3.2, 4.1-4.3, 5.1-5.3, 6.1-6.2 การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน (5 คะแนน)
4 1.3 การส่งงานตามที่มอบหมาย
5 1.2-1.4, 2.1-2.3, 3.1-3.2, 4.1-4.3, 5.1-5.3, 6.1-6.2 ผลงานการทำรายงานการประเมินตนเอง
6 1.3 1.3 การเช็คชื่อการเข้าชั้นเรียน การแต่งกายและการทำผิดวินัย
1. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
3. กรอบคุณวุฒิวิชาชีพ
4. มาตรฐานการอาชีวศึกษา
5. คู่มือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาอาชีวศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตของผู้สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชาจะจัดให้มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา โดยการสอบถามนักศึกษาหรือการตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา การทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบและการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงหัวข้องานที่มอบหมายและวิธีการสอน สื่อประกอบการสอนภาคการศึกษาที่ทำการสอน ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน