รายละเอียด

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ / Computer Programming

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : ENGCC304
  • ชื่อรายวิชา(TH) : การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Computer Programming
  • เทอม / ปีการศึกษา : 2/2565

รายละเอียด

เทสๆ

รายวิชา - การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

บทที่ 1 แนวคิดองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
- ความหมายและองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
- ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
- ภาพรวมของโครงสร้างภาษาซี
- การใช้คำสั่งควบคุมหน้าจอและคีย์บอร์ด

กิจกรรม : - บรรยาย 2 ในห้องเรียนทฤษฎี
- ปฏิบัติ 3 คาบตามเนื้อหาที่สอดคล้องกับการบรรยายทฤษฎีโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีในห้องปฏิบัติการ

บทที่ 2 ลักษณะของโครงสร้างภาษาซี
- วิธการเรียกใช้ Library
- วิธีการใช้งาน define
- ลักษณะและการใช้งาน Function
- ลักษณะและการใช้งาน main()
- วิธีการเขียน Comments

กิจกรรม : - บรรยาย 2 ในห้องเรียนทฤษฎี
- ปฏิบัติ 3 คาบตามเนื้อหาที่สอดคล้องกับการบรรยายทฤษฎีโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีในห้องปฏิบัติการ

บทที่ 3 รูปแบบไวยกรณ์(Syntax) ของภาษาซี
- ลักษณะการสร้างตัวแปร
- การตั่งชื่อตัวแปรและฟังก์ชั่น
- การกำหนดค่าให้กับตัวแปร
- การกำหนดนิพจน์ทางคณิตศาสตร์
- วิธีการใช้ค่ำสั่งแสดงผลข้อมูลไปยังจอภาพ
-วิธีการรับคำสั่งข้อมูลจากคีย์บอร์ด


กิจกรรม : - บรรยาย 2 ในห้องเรียนทฤษฎี
- ปฏิบัติ 3 คาบตามเนื้อหาที่สอดคล้องกับการบรรยายทฤษฎีโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีในห้องปฏิบัติการ

บทที่ 4 ลักษณะพิเศษของภาษาซีและ Algorithm
- ความหมายชนิดข้อมูลตัวแปรและประเภทต่างๆ
- ลักษณะการทำงานของโปรแกรม
- วิธีการใช้ตัวแปรในการเขียนโปรแกรม
- ความสำคัญและลักษณะของ Algorithm
- วิธีการเขียนขั้นตอนวิธีด้วย Flow chart
- วิธีการเขียนขั้นตอนด้วย Pseudo Code
- การพัฒนาขั้นตอนวิธีไปสู่ภาษาซี

กิจกรรม : - บรรยาย 2 ในห้องเรียนทฤษฎี
- ปฏิบัติ 3 คาบตามเนื้อหาที่สอดคล้องกับการบรรยายทฤษฎีโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีในห้องปฏิบัติการ

บทที่ 5 Standard function ของภาษาซี
- ความหมายความสำคัญของ Function
- ลักษณะของ Function ในภาษาซี
- รูปแบบไวยกรณ์ (Syntax) ของภาษาซี
- วิธีการใช้งาน Function ที่มีการใช่งานร่วมกับ Parameter and Argument ค่าต่างๆ
- ลักษณะของ Library ต่างๆ ในภาษาซี
- วิธีการเรียกใช้ Function จาก Library


กิจกรรม : - บรรยาย 2 ในห้องเรียนทฤษฎี
- ปฏิบัติ 3 คาบตามเนื้อหาที่สอดคล้องกับการบรรยายทฤษฎีโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีในห้องปฏิบัติการ

บทที่ 6 การเขียนโปรแกรมเงือนไข โดยใช้คำสั่ง if and if... else
- ความสำคัญของคำสั่งควบคุมเงือนไข
- ลักษณะโครงสร้างคำสั่งควบคุมแบบ if ที่ไม่มี else (if without else)
- ลักษณะโครงสร้างของคำสั่งควบคุมแบบ if มี else (simple if)
- ลักษณะโครงสร้างของคำสั่งควบคุมแบบ if ที่มีเงือนไขแบบผสาน (Combine if)
- ลักษณะโครงสร้างของคำสั่งควบคุม if แบบซ้อนทับกัน (Nested if)
- การะประยุกต์ใช้ Flow chart กับค่ำสั่ง if
- การประยุกต์ Pseudo code กับคำสั่ง if

กิจกรรม : - บรรยาย 2 ในห้องเรียนทฤษฎี
- ปฏิบัติ 3 คาบตามเนื้อหาที่สอดคล้องกับการบรรยายทฤษฎีโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีในห้องปฏิบัติการ

บทที่ 7 การเขียนโปรแกรมเงื่อนไขโดยใช้คำสั่ง Switch … case
- ความสำคัญของคำสั่งควบคุมแบบเงือนไข switch…case
- ลักษณะการกำหนดเงือนไขของคำสั่ง switch..case
- การประยุกต์ใช้ flow chart กับคำสั่ง switch...case
- การประยุกต์ใช้ Pseudo code กับคำสั่ง witch...case


กิจกรรม : - บรรยาย 2 ในห้องเรียนทฤษฎี
- ปฏิบัติ 3 คาบตามเนื้อหาที่สอดคล้องกับการบรรยายทฤษฎีโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีในห้องปฏิบัติการ

สอบกลางภาค
กิจกรรม : สอบกลางภาคปฎิบัติ

บทที่ 8 การเขียนโปรแกรมแนววนรอบซ้ำ ด้วยค่ำสั่ง while และคำสั่ง do…while
- ความสำคัญของคำสั่ควบคุมแบบวนรอบทำซ้ำ
- ลักษณะโครงสร้างของคำส่ะงควบคุม
- การประยุกต์ใช้ flow chart และ pseudo code กับคำสั่ง while
- ลักษณะโครงสร้างของคำสั่งควบคุมแบบวนรอบทำงานซ้ำแบบ do…while
- กระประยุกต์ใช้ flow chart และ psuedo code กับคำสั่ง do...while
- กระประยุกต์ใช้คำสั่ง while และ do...while เพื่อกำหนดการควบคุมแบบซ้อนทับ


กิจกรรม : - บรรยาย 2 ในห้องเรียนทฤษฎี
- ปฏิบัติ 3 คาบตามเนื้อหาที่สอดคล้องกับการบรรยายทฤษฎีโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีในห้องปฏิบัติการ

บทที่ 9 การเขียนโปรแกรมวนรอบทำซ้ำด้วยคำสั่ง for….
- ความสำคัญของคำสั่งควบคุมแบบวนรอบดคำสั่ง for….
- ลักษณะโครงสร้างของคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ for...
- การประยุกต์ใช้ flow chart กับคำสั่ง Pseudo code กับคำสั่ง for…
- การประยุกต์ใช้ for…เพื่อกำหนดการควบคุมแบบซ้อนทับ


กิจกรรม : - บรรยาย 2 ในห้องเรียนทฤษฎี
- ปฏิบัติ 3 คาบตามเนื้อหาที่สอดคล้องกับการบรรยายทฤษฎีโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีในห้องปฏิบัติการ

บทที่ 10 การเขียนโปรแกรมแบบ Array
- ความสำคัญของคำสั่ง Array
- ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความจำกับชนิดข้อมูลแต่ละประเภท
- ความหมาย operator ที่ใช้กับ Array และ Pointer
- โครงสร้างและรูปแบบการใช้งานข้อมูลแบบ Array
- การประยุกต์ใช้ Array แบบ 1 มิติ
- การประยุกต์ใช้ Array แบบ 2 มิติ
- การประยุกต์ใช้ Array แบบหลายมิติ

กิจกรรม : - บรรยาย 2 ในห้องเรียนทฤษฎี
- ปฏิบัติ 3 คาบตามเนื้อหาที่สอดคล้องกับการบรรยายทฤษฎีโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีในห้องปฏิบัติการ

บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมแบบ Function
- ความสำคัญของ Function
- หลักการเขียน function
- โครงสร้างและรูปแบบของ funtion
- รูปแบบของ function ที่เกี่ยวข้องกับ parameter and argument list
- การใช้งานตัวแปรแบบ global และ local ร่วมกับการทำงาน function

กิจกรรม : - บรรยาย 2 ในห้องเรียนทฤษฎี
- ปฏิบัติ 3 คาบตามเนื้อหาที่สอดคล้องกับการบรรยายทฤษฎีโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีในห้องปฏิบัติการ

บทที่ 12 การเขียนโปรแกรมเพื่อใช้งาน Pointer
- ความสำคัญของ pointer
- หลักการของการเขียน pointer
- โครงสร้างและรุปแบบของ pointer
- ความเกี่ยวข้อง pointer กับ array
- ความหมายของเครื่องหมาย & และ *
- การประยุกต์ใช้ poniter เพื้อแก้ปัญหาการคืนค่าที่มากกว่า 1 ตัวแปรใน function และปัญหากรณีษึกษา อื่นๆ

กิจกรรม : - บรรยาย 2 ในห้องเรียนทฤษฎี
- ปฏิบัติ 3 คาบตามเนื้อหาที่สอดคล้องกับการบรรยายทฤษฎีโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีในห้องปฏิบัติการ

บทที่ 13
13.1 การเขียนโปรแกรมแบบ Structure
- ความสำคัญของโปรแกรมแบบ Structure
- โครงสร้างและรูปแบบของ Structure
- วิธีการใช้งาน Array ร่วมกับ Structure
- วิธีการใช้งาน Pointer ร่วมกับ Structure

13.2 การเขียนโปรแกรมบน file
- ชนิดของไฟล์
- วิธีการอ่านข้อมูลในTtext file
- วิธีการเขียนข้อมูลใน Text file
- การประยุกต์ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์กับ Text file
กิจกรรม : - บรรยาย 2 ในห้องเรียนทฤษฎี
- ปฏิบัติ 3 คาบตามเนื้อหาที่สอดคล้องกับการบรรยายทฤษฎีโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีในห้องปฏิบัติการ

หัวข้อ/รายละเอียด 15
บทที่ 14 การประยุกต์ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์กับไมโครคอนโทรลเลอร์
- ความสำคัญการประยุกต์ใช้ฯ
- โครงสร้างของไมโครคอนโทรลเลอร์
- วิธีการประยุกต์ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์กับไมโครคอนโทรลเลอร์
- Mini Project
กิจกรรม : - บรรยาย 2 ในห้องเรียนทฤษฎี
- ปฏิบัติ 3 คาบตามเนื้อหาที่สอดคล้องกับการบรรยายทฤษฎีโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีในห้องปฏิบัติการ
- ปฏิบัติ Mini Project

ทบทวน
กิจกรรม : - บรรยาย 2 ในห้องเรียนทฤษฎี
- ปฏิบัติ 3 คาบตามเนื้อหาที่สอดคล้องกับการบรรยายทฤษฎีโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีและทำ Mini Project

สอบปลายภาค
กิจกรรม : สอบปลายภาคปฎิบัติ

อาจารย์ผู้สอน