รายละเอียด

การสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่น / Auditing and Assurance

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 8 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : BACAC135
  • ชื่อรายวิชา(TH) : การสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่น
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Auditing and Assurance
  • เทอม / ปีการศึกษา : 2/2565

รายละเอียด

รายวิชา - การสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่น

หน่วยเรียนที่ 1 ภาพรวมของการสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่น
1.1 แนวคิดความสำคัญของการสอบบัญชี
1.1.1 ความสำคัญของการสอบบัญชีต่อระบบเศรษฐกิจ
1.1.2 วิวัฒนาการของวิชาชีพสอบบัญชี
1.1.3 ความหมายของการสอบบัญชี
1.1.4 วัตถุประสงค์ของการสอบบัญชี
1.1.5 ความแตกต่างระหว่างการสอบบัญชีและการบัญชี
1.1.3 ประเภทของการสอบบัญชี
1.1.4 กระบวนการสอบบัญชี
1.2 แม่บทสำหรับงานที่ให้ความเชื่อมั่น


กิจกรรม : - แบบทดสอบก่อนเข้าชั้นเรียนเพื่อทดสอบว่านักศึกษารู้จักวิชาชีพสอบบัญชีมากน้อยเพียงใด
- นำผลการบริการวิชาการ “เส้นทางสู่นักบัญชีมืออาชีพ” โดยเน้นวิชาชีพการเป็นผู้สอบบัญชี มาถ่ายทอดให้นักศึกษาฟังเพื่อให้รู้จักวิชาชีพสอบบัญชีในเบื้องต้น
- บรรยายเนื้อหา
- มอบหมายกรณีศึกษา
- มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาข้อมูลข่าวสาร/บทความ ที่เกี่ยวข้องกับความสำคัญของงานสอบบัญชีแล้วนำมาแลกเปลี่ยนอภิปรายหน้าชั้นเรียน

หน่วยเรียนที่ 2 การตรวจสอบงบการเงิน
2.1 วัตถุประสงค์ในการตรวจสอบงบการเงินโดยรวม
2.2 สถานการณ์แวดล้อมที่มีต่องบการเงิน
2.3 ความรับผิดชอบต่องบการเงิน
2.3.1 ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงิน
2.3.2 ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่องบการเงิน
2.4 หลักการพื้นฐานของการตรวจสอบงบการเงิน
2.5 ข้อจำกัดของการตรวจสอบงบการเงิน

กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- มอบหมายกรณีศึกษา
- มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาข้อมูลข่าวสาร/บทความ ที่เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์การตรวจสอบและบทบาทความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีแล้วนำมาแลกเปลี่ยนอภิปรายหน้าชั้นเรียน

กฎหมายที่เกี่ยวข้องและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพสอบบัญชี
3.1 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพสอบบัญชี
3.2 สถาบันการสอบบัญชีในประเทศไทย
3.3 สถาบันการสอบบัญชีในต่างประเทศ
3.4 จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพสอบบัญชี
3.5 การควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี


กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- มอบหมายกรณีศึกษา
- มอบหมายให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มศึกษาข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพสอบบัญชีแล้วนำมาแลกเปลี่ยน อภิปรายในชั้นเรียน

ความเสี่ยงในการสอบบัญชีและการควบคุมภายใน
4.1 ความเสี่ยงในการปฏิบัติงานตามวิชาชีพ
4.2 ความเสี่ยงในการสอบบัญชี
4.2.1 ความเสี่ยงสืบเนื่อง
4.2.2 ความเสี่ยงจากการตรวจสอบ
4.2.3 ความเสี่ยงจากการตรวจสอบ
4.2.4 แบบจำลองความเสี่ยงในการสอบบัญชี
4.2.5 ความเสี่ยงจากการทุจริตและความเสี่ยงที่มีนัยสำคัญ
4.3 การควบคุมภายใน
4.3.1 ความหมายของระบบการควบคุมภายใน
4.3.2 องค์ประกอบของการควบคุมภายใน
4.3.3 การทำความเข้าใจในระบบการควบคุมภายใน
4.3.4 การประเมินความเสี่ยงจากการควบคุม
4.3.5 การทดสอบการควบคุม
4.3.6 การรายงานจุดอ่อนของระบบการควบคุมภายใน
4.4 การระบุและประเมินความเสี่ยงในการสอบบัญชี
4.4.1 วิธีการที่ผู้สอบบัญชีใช้ในการระบุและประเมินความเสี่ยง
4.4.2 การประเมินความเสี่ยงในการสอบบัญชี


กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- กิจกรรมในชั้นเรียนให้นักศึกษาวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงในการสอบบัญชีจากข้อมูลที่อาจารย์กำหนดให้
- มอบหมายงานกลุ่มให้นักศึกษาศึกษาธุรกิจในตลาดหลักทรัพย์ รวบรวมข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการประเมินความเสี่ยงในการสอบบัญชีและ จัดทำแผนการสอบบัญชีพร้อมนำเสนอในชั้นเรียน

หลักฐานการสอบบัญชีและการตรวจสอบ
5.1 หลักฐานการสอบบัญชี
5.1.1 ความหมายของหลักฐานการสอบบัญชี
5.1.2 ประเภทของหลักฐานการสอบบัญชี
5.1.3 หลักเกณฑ์การพิจารณาหลักฐานการสอบบัญชี
5.2 การตรวจสอบ
5.2.1 สิ่งที่ผู้บริหารให้การรับรองไว้เกี่ยวกับงบการเงิน
5.2.2 วิธีการตรวจสอบ
5.2.3 ประเภทการตรวจสอบ
5.3 การกำหนดวิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชี

กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- ให้นักศึกษาส่งตัวแทนกลุ่มแข่งขันตอบคำถามท้ายบทเกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสมหน้าชั้นเรียน
- มอบหมายกรณีศึกษา
- มอบหมายงานกลุ่มให้นักศึกษาสรุปมาตรฐานการสอบบัญชีในหมวดหลักฐานการสอบบัญชีที่ได้รับมอบหมายและนำเสนอให้เพื่อนในชั้นเรียน พร้อมจัดกิจกรรมให้แต่ละกลุ่มแข่งขันตอบคำถามที่อาจารย์ตั้งคำถามในแต่ละมาตรฐาน

การวางแผนการตรวจสอบงบการเงิน
6.1 แนวคิดเกี่ยวกับการวางแผนงานสอบบัญชี
6.1.1 ความหมายของการวางแผนงานสอบบัญชี
6.1.2 ประโยชน์ของการวางแผนงานสอบบัญชี
6.1.3 ขั้นตอนของการวางแผนงานสอบบัญชี
6.2 การวางแผนงานสอบบัญชีในช่วงต้น
6.2.1 การพิจารณารับงานสอบบัญชี
6.2.2 การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจที่ตรวจสอบ
6.2.3 การวิเคราะห์เปรียบเทียบในเบื้องต้น
6.2.4 การกำหนดความมีสาระสำคัญ
6.3 การสื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลและการใช้ผลงานผู้อื่น
6.3.1 การติดต่อสื่อสารกับผู้มีหน้าที่กำกับดูแล
6.3.2 การใช้ผลงานของผู้สอบบัญชีอื่นกรณีตรวจสอบงบกลุ่มกิจการ
6.3.3 การใช้ผลงานของผู้เชี่ยวชาญ
6.3.4 การใช้ผลงานของผู้ตรวจสอบภายใน
6.4 การออกแบบแผนการสอบบัญชีโดยรวม
6.4.1 ความหมายของแผนการสอบบัญชีโดยรวม
6.4.2 ข้อควรพิจารณาในการพัฒนาแผนการสอบบัญชีโดยรวม
6.4.3 การพัฒนาแผนการสอบบัญชีและตัวอย่างแผนการสอบบัญชีโดยรวม


กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- กิจกรรมในชั้นเรียนให้นักศึกษาวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงในการสอบบัญชีจากข้อมูลที่อาจารย์กำหนดให้
- มอบหมายงานกลุ่มให้นักศึกษาศึกษาธุรกิจในตลาดหลักทรัพย์ รวบรวมข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการประเมินความเสี่ยงในการสอบบัญชีและ จัดทำแผนการสอบบัญชีพร้อมนำเสนอในชั้นเรียน

การจัดทำแนวการสอบบัญชี
7.1 ความหมายของแนวการสอบบัญชี
7.1.1 ความหมายของแนวการสอบบัญชี
7.1.2 ประโยชน์ของแนวการสอบบัญชี
7.1.3 องค์ประกอบที่สำคัญในการจัดทำแนวการสอบบัญชี
7.2 แนวทางการจัดทำแนวการสอบบัญชีและตัวอย่างแนวการสอบบัญชี

การเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี
8.1 แนวคิดเกี่ยวกับการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี
8.1.1 ความหมายของการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี
8.1.2 ความสำคัญของการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี
8.1.3 ความเสี่ยงของการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี
8.1.3 ประเภทของการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี
8.2 ขั้นตอนการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี
8.2.1 การวางแผนการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี
8.2.2 การเลือกตัวอย่างและการทดสอบตัวอย่างในการสอบบัญชี
8.2.3 การสรุปผลการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี
8.3 บทบาทการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี
8.3.1 การเลือกตัวอย่างในการทดสอบการควบคุม
8.3.2 การเลือกตัวอย่างในการตรวจสอบเนื้อหาสาระ

กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- มอบหมายกรณีศึกษาเกี่ยวกับการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี
- กิจกรรมในชั้นเรียนให้นักศึกษาทดลองจัดทำแนวการสอบบัญชีจากข้อมูลที่อาจารย์กำหนดให้

เอกสารหลักฐานการตรวจสอบ
9.1 แนวคิดเกี่ยวกับเอกสารหลักฐานการตรวจสอบ
9.1.1 ความหมายของเอกสารหลักฐานการตรวจสอบ
9.1.2 วัตถุประสงค์ของการจัดทำเอกสารหลักฐานการตรวจสอบ
9.1.3 ประโยชน์ของการจัดทำเอกสารหลักฐานการตรวจสอบ
9.2 การจัดทำเอกสารหลักฐานการตรวจสอบ
9.2.1 รูปแบบและเนื้อหาที่ต้องบันทึกในเอกสารหลักฐานการตรวจสอบ
9.2.2 ตัวอย่างเอกสารหลักฐานการตรวจสอบ
9.3 การรวบรวมและการเก็บรักษาเอกสารหลักฐานการตรวจสอบ
9.3.1 การรวบรวมเอกสารหลักฐานการตรวจสอบ
9.3.2 การเก็บรักษาเอกสารหลักฐานการตรวจสอบ

กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- กิจกรรมในชั้นเรียนให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการจัดทำกระดาษทำการจากข้อมูลที่อาจารย์กำหนดให้ โดยนำโปรแกรม Excel มาช่วยในการจัดทำกระดาษทำการ
- ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการสืบค้นตัวอย่างกระดาษทำการจากเว็ปไซต์ของสภาวิชาชีพบัญชีฯ เพื่อใช้เป็นตัวอย่างในการปฏิบัติงาน

สอบกลางภาค
กิจกรรม :

การตรวจสอบวงจรรายได้
10.1 วงจรรายการค้า
10.1.1 ประเภทของวงจรรายการค้า
10.1.2 ความสัมพันธ์ของวงจรรายการค้า
10.2 แนวคิดของวงจรรายได้
10.2.1 ลักษณะของวงจรรายได้และบัญชีที่เกี่ยวข้อง
10.2.2 การควบคุมภายในของวงจรรายได้
10.2.3 ความเสี่ยงในการสอบบัญชีของวงจรรายได้
10.3 การทดสอบการควบคุมวงจรรายได้
10.4 การตรวจสอบเนื้อหาสาระบัญชีรายได้
10.5 การตรวจสอบเนื้อหาสาระบัญชีลูกหนี้การค้า

กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- มอบหมายกรณีศึกษา
- ให้นักศึกษาฝึกจัดทำกระดาษทำการในการตรวจสอบ

การตรวจสอบวงจรรายจ่าย
11.1 แนวคิดของวงจรรายจ่าย
11.1.1 ลักษณะของวงจรรายจ่ายและบัญชีที่เกี่ยวข้อง
11.1.2 การควบคุมภายในของวงจรรายจ่าย
11.1.3 ความเสี่ยงในการสอบบัญชีของวงจรรายจ่าย
11.2 การทดสอบการควบคุมวงจรรายจ่าย
11.3 การตรวจสอบเนื้อหาสาระบัญชีซื้อสินค้า
11.4 การตรวจสอบเนื้อหาสาระบัญชีเจ้าหนี้การค้า

กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- มอบหมายกรณีศึกษา
- ให้นักศึกษาฝึกจัดทำกระดาษทำการในการตรวจสอบ

การตรวจสอบวงจรการผลิตและสินค้าคงเหลือ
12.1 แนวคิดของวงจรการผลิต
12.1.1 ลักษณะของวงจรการผลิตและบัญชีที่เกี่ยวข้อง
12.1.2 การควบคุมภายในของวงจรการผลิต
12.1.3 ความเสี่ยงในการสอบบัญชีของวงจรการผลิต
12.2 การทดสอบการควบคุมของวงจรการผลิต
12.3 การตรวจสอบเนื้อหาสาระบัญชีต้นทุนขาย
12.4 การตรวจสอบเนื้อหาสาระบัญชีสินค้าคงเหลือ

กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- มอบหมายกรณีศึกษา
- ให้นักศึกษาฝึกจัดทำกระดาษทำการในการตรวจสอบ

การตรวจสอบวงจรอื่น
13.1 แนวคิดของวงจรเงินเดือนและค่าแรง
13.1.1 ลักษณะของวงจรเงินเดือนและค่าแรง
13.1.2 การควบคุมภายในวงจรเงินเดือนและค่าแรง
13.1.3 ความเสี่ยงในการสอบบัญชีของวงจรเงินเดือนและค่าแรง
13.2 การทดสอบการควบคุมของวงจรเงินเดือนและค่าแรง
13.3 การตรวจสอบเนื้อหาสาระบัญชีเงินเดือนและค่าแรง
13.4 แนวคิดของวงจรการจัดหาเงิน
13.4.1 ลักษณะของวงจรการจัดหาเงิน
13.4.2 การควบคุมภายในของวงจรการจัดหาเงิน
13.4.3 ความเสี่ยงในการสอบบัญชีของวงจรการจัดหาเงิน
13.5 การทดสอบการควบคุมของวงจรการจัดหาเงิน
13.6 การตรวจสอบเนื้อหาสาระบัญชีเงินกู้ยืม
13.7 การตรวจสอบเนื้อหาสาระบัญชีส่วนของเจ้าของ
13.8 แนวคิดของวงจรการลงทุน
13.8.1 ลักษณะของวงจรการลงทุน
13.8.2 การควบคุมภายในของวงจรการลงทุน
13.8.3 ความเสี่ยงในการสอบบัญชีของวงจรการลงทุน
13.9 การทดสอบการควบคุมของวงจรการลงทุน
13.20 การตรวจสอบเนื้อหาสาระบัญชีเงินลงทุนในหลักทรัพย์
13.21 การตรวจสอบเนื้อหาสาระบัญชีเงินลงทุนในสินทรัพย์ถาวร

กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- มอบหมายกรณีศึกษา
- ให้นักศึกษาฝึกจัดทำกระดาษทำการในการตรวจสอบ

การตรวจสอบเพิ่มเติมและการสรุปผลการตรวจสอบ
14.1 การตรวจสอบยอดยกมาสำหรับการสอบบัญชีครั้งแรก
14.2 การตรวจสอบหนี้สินที่ยังไม่ได้บันทึกบัญชีและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น
14.3 การตรวจสอบเหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงิน
14.4 การประเมินความสามารถในการในการดำเนินงานต่อเนื่อง
14.5 การตรวจสอบข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
14.6 การตรวจสอบประมาณการทางบัญชี
14.7 การตรวจสอบสมุดรายวันทั่วไป
14.8 การขอหนังสือรับรองจากฝ่ายบริหาร
14.9 การสรุปผลการตรวจสอบ
14.9.1 ขั้นตอนและวิธีการสรุปผลการตรวจสอบ
14.9.2 การสรุปรายการปรับปรุงทางบัญชีและการจัดประเภทบัญชีใหม่
14.9.3 การวิเคราะห์เปรียบเทียบขั้นสุดท้าย
14.9.4 การสื่อสารกับผู้มีหน้าที่กำกับดูแล

กิจกรรม : บรรยายเนื้อหา
- มอบหมายกรณีศึกษา
- ให้นักศึกษาฝึกจัดทำกระดาษทำการในการตรวจสอบ

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตต่องบการเงิน
15.1 แนวคิดเกี่ยวกับรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
15.1.1 ความหมายของรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
15.1.2 รูปแบบการแสดงความเห็นของผู้สอบบัญชีในสถานการณ์ต่าง ๆ
15.1.3 รายงานของผู้สอบบัญชีกับมาตรฐานการสอบบัญชี
15.2 ข้อพิจารณาในการแสดงความเห็นของผู้สอบบัญชี
15.2.1 สถานการณ์ที่กระทบต่อความเห็นของผู้สอบบัญชี
15.2.2 สถานการณ์ที่ไม่กระทบต่อความเห็นของผู้สอบบัญชี
15.2.3 ความมีสาระสำคัญกับการแสดงความเห็นของผู้สอบบัญชี
15.3 หลักการเขียนรายงานของผู้สอบบัญชีในกรณีต่าง ๆ
15.3.1 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต-กรณีแสดงความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไข
15.3.2 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต-กรณีแสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไข
15.3.3 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต-กรณีแสดงความเห็นว่างบการเงินไม่ถูกต้อง
15.3.4 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต-กรณีไม่แสดงความเห็น
15.3.5 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต-กรณีมีปัญหาการดำเนินงานต่อเนื่อง
15.3.6 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต-กรณีเรื่องสำคัญในการตรวจสอบ
15.3.2 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต-กรณีแสดงข้อมูลอื่นและเหตุการณ์ที่เน้น
15.3.3 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต-กรณีเรื่องอื่น
15.3.4 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตต่อข้อมูลเปรียบเทียบ
15.4 รายงานการทดสอบแบบแจ้งข้อความของกรรมการหรือหุ้นส่วนหรือผู้จัดการ

กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- มอบหมายกรณีศึกษา
- ให้นักศึกษาฝึกจัดทำกระดาษทำการในการตรวจสอบ

การสอบบัญชีด้านคอมพิวเตอร์
16.1 สภาพแวดล้อมของระบบสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์
16.2 ข้อควรพิจารณาของผู้สอบบัญชีในการตรวจสอบบัญชีที่ใช้คอมพิวเตอร์
16.3 การควบคุมภายในของระบบสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์
16.3.1 การควบคุมทั่วไป
16.3.2 การควบคุมระบบงาน
16.4 การทำความเข้าใจและการประเมินความเสี่ยงจากระบบการควบคุมภายในของระบบสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์
16.5 การตรวจสอบในสภาพแวดล้อมของระบบสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์
16.5.1 การทดสอบการควบคุมในระบบสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์
16.5.2 เทคนิคการตรวจสอบระบบสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์
ผู้สอบบัญชีภาษีอากร
17.1 แนวคิดเกี่ยวกับผู้สอบบัญชีภาษีอากร
17.1.1 บทบาทหน้าที่ของผู้สอบบัญชีภาษีอากร
17.1.2 คุณสมบัติและใบอนุญาตของผู้สอบบัญชีภาษีอากร
17.1.3 จรรยาบรรณของผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี
17.1.4 ความแตกต่างระหว่างผู้สอบบัญชีภาษีอากรและผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
17.2 การปฏิบัติงานตรวจสอบและรับรองบัญชี
17.2.1 การทดสอบรายการทางบัญชีและภาษีอากร
17.2.2 การจัดทำแนวการสอบบัญชี
17.2.3 การปฏิบัติงานตรวจสอบและการจัดทำกระดาษทำการ
17.2.4 การจัดทำรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี
17.2.5 การทดสอบรายการในแบบแจ้งข้อความของผู้เป็นหุ้นส่วน


กิจกรรม : - บรรยายเนื้อหา
- มอบหมายกรณีศึกษา
- ให้นักศึกษาฝึกจัดทำกระดาษทำการในการตรวจสอบ

สัปดาห์สอนชดเชยและทบทวน
กิจกรรม :

อาจารย์ผู้สอน