รายละเอียด

ฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกร เซคชัน ๑๙ ศุกร์เช้า / Physics 2 for Engineers

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : FUNSC103
  • ชื่อรายวิชา(TH) : ฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกร เซคชัน ๑๙ ศุกร์เช้า
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Physics 2 for Engineers
  • เทอม / ปีการศึกษา : 2/2564

รายละเอียด

ฟิสิกส์ ๒ สำหรับวิศวกร

เซคชัน ๑๙ ศุกร์ ๘.๐๐ -๑๑.๐๐ น

ติดต่ออาจารย์ชั้นสอง อาคารศึกษาทั่วไป

รายวิชา - ฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกร เซคชัน ๑๙ ศุกร์เช้า

1. ไฟฟ้าสถิต
1.1 ธรรมชาติของไฟฟ้าสถิต
1.2 กฎของคูลอมบ์
1.3 สนามไฟฟ้า
1.4 พลังงานศักย์ไฟฟ้าและศักย์ไฟฟ้า
1.5 ความจุไฟฟ้า
กิจกรรม : 1. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
2. การสอนแบบสาธิต
3. การสอนแบบบรรยาย

1. ไฟฟ้าสถิต
1.1 ธรรมชาติของไฟฟ้าสถิต
1.2 กฎของคูลอมบ์
1.3 สนามไฟฟ้า
1.4 พลังงานศักย์ไฟฟ้าและศักย์ไฟฟ้า
1.5 ความจุไฟฟ้า
กิจกรรม : 1. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
2. การสอนแบบสาธิต
3. การสอนแบบบรรยาย

1. ไฟฟ้าสถิต
1.1 ธรรมชาติของไฟฟ้าสถิต
1.2 กฎของคูลอมบ์
1.3 สนามไฟฟ้า
1.4 พลังงานศักย์ไฟฟ้าและศักย์ไฟฟ้า
1.5 ความจุไฟฟ้า
กิจกรรม : 1. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
2. การสอนแบบสาธิต
3. การสอนแบบบรรยาย

2. ไฟฟ้ากระแสตรง
2.1 กฎของโอห์ม
2.2 พลังงานไฟฟ้า
2.3 กำลังไฟฟ้า
2.4 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น
2.5 กฎของเคอร์ชอฟฟ์
2.6 วงจร RC
กิจกรรม : 1. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
2. การสอนแบบสาธิต
3. การสอนแบบบรรยาย
4. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
5. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)

2. ไฟฟ้ากระแสตรง
2.1 กฎของโอห์ม
2.2 พลังงานไฟฟ้า
2.3 กำลังไฟฟ้า
2.4 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น
2.5 กฎของเคอร์ชอฟฟ์
2.6 วงจร RC
กิจกรรม : 1. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
2. การสอนแบบสาธิต
3. การสอนแบบบรรยาย
4. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
5. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)

3. แม่เหล็ก-ไฟฟ้า
3.1 ธรรมชาติของแม่เหล็ก
3.2 แรงแม่เหล็กบนประจุที่เคลื่อนที่
3.3 แรงแม่เหล็กบนลวดตัวนำ
3.4 สนามแม่เหล็กจากกระแสไฟฟ้า
3.4.1 กฎของ Biot-Savart
3.4.2 กฎของ Ampere
3.5 แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ
3.5.1 กฎของ Faraday
3.5.2 กฎของ Lenz
3.6 การเหนี่ยวนำตัวเอง
3.7 การเหนี่ยวนำต่างร่วม
3.8 ขดลวดเหนี่ยวนำในวงจรกระแสตรง
3.9 ปรากฏการณ์ฮอลล์
กิจกรรม : 1. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
2. การสอนแบบสาธิต
3. การสอนแบบบรรยาย
4. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
5. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)

3. แม่เหล็ก-ไฟฟ้า
3.1 ธรรมชาติของแม่เหล็ก
3.2 แรงแม่เหล็กบนประจุที่เคลื่อนที่
3.3 แรงแม่เหล็กบนลวดตัวนำ
3.4 สนามแม่เหล็กจากกระแสไฟฟ้า
3.4.1 กฎของ Biot-Savart
3.4.2 กฎของ Ampere
3.5 แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ
3.5.1 กฎของ Faraday
3.5.2 กฎของ Lenz
3.6 การเหนี่ยวนำตัวเอง
3.7 การเหนี่ยวนำต่างร่วม
3.8 ขดลวดเหนี่ยวนำในวงจรกระแสตรง
3.9 ปรากฏการณ์ฮอลล์
กิจกรรม : 1. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
2. การสอนแบบสาธิต
3. การสอนแบบบรรยาย
4. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
5. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)

3. แม่เหล็ก-ไฟฟ้า
3.1 ธรรมชาติของแม่เหล็ก
3.2 แรงแม่เหล็กบนประจุที่เคลื่อนที่
3.3 แรงแม่เหล็กบนลวดตัวนำ
3.4 สนามแม่เหล็กจากกระแสไฟฟ้า
3.4.1 กฎของ Biot-Savart
3.4.2 กฎของ Ampere
3.5 แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ
3.5.1 กฎของ Faraday
3.5.2 กฎของ Lenz
3.6 การเหนี่ยวนำตัวเอง
3.7 การเหนี่ยวนำต่างร่วม
3.8 ขดลวดเหนี่ยวนำในวงจรกระแสตรง
3.9 ปรากฏการณ์ฮอลล์
กิจกรรม : 1. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
2. การสอนแบบสาธิต
3. การสอนแบบบรรยาย
4. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
5. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)

สอบกลางภาค
กิจกรรม : สอบกลางภาค

4. ไฟฟ้ากระแสสลับ
4.1 แรงเคลื่อนของไฟฟ้ากระแสสลั
4.2 ค่ายังผล
4.3 วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ (1)
4.4 กำลังไฟฟ้าและตัวประกอบกำลัง
4.5 วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ (2)
4.6 กำลังไฟฟ้าและตัวประกอบกำลัง
4.7 การเกิดเรโซแนนซ์ทางไฟฟ้า
กิจกรรม : 1. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
2. การสอนแบบสาธิต
3. การสอนแบบบรรยาย
4. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
5. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)

4. ไฟฟ้ากระแสสลับ
4.1 แรงเคลื่อนของไฟฟ้ากระแสสลั
4.2 ค่ายังผล
4.3 วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ (1)
4.4 กำลังไฟฟ้าและตัวประกอบกำลัง
4.5 วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ (2)
4.6 กำลังไฟฟ้าและตัวประกอบกำลัง
4.7 การเกิดเรโซแนนซ์ทางไฟฟ้า
กิจกรรม : 1. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
2. การสอนแบบสาธิต
3. การสอนแบบบรรยาย
4. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
5. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)

5. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและทัศนศาสตร์
5.1 ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของ Maxwell
5.2 สมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
5.3 สมบัติของคลื่นแสง
5.4 อุปกรณ์ทางทัศนศาสตร์

กิจกรรม : 1. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
2. การสอนแบบสาธิต
3. การสอนแบบบรรยาย
4. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
5. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)

5. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและทัศนศาสตร์
5.1 ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของ Maxwell
5.2 สมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
5.3 สมบัติของคลื่นแสง
5.4 อุปกรณ์ทางทัศนศาสตร์

กิจกรรม : 1. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
2. การสอนแบบสาธิต
3. การสอนแบบบรรยาย
4. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
5. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)

6. อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
6.1 สารกึ่งตัวนำ
6.2 ไดโอด
6.3 ทรานซิสเตอร์
กิจกรรม : 1. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
2. การสอนแบบสาธิต
3. การสอนแบบบรรยาย
4. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
5. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)

7. ฟิสิกส์ยุคใหม่
7.1 แบบจำลองอะตอม
7.2 การแผ่รังสีของวัตถุดำและสมมติฐานของพลังค์
7.3 ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
7.4 ทวิภาคของคลื่นและอนุภาค
กิจกรรม : 1. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
2. การสอนแบบสาธิต
3. การสอนแบบบรรยาย
4. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)

7. ฟิสิกส์ยุคใหม่
7.1 แบบจำลองอะตอม
7.2 การแผ่รังสีของวัตถุดำและสมมติฐานของพลังค์
7.3 ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
7.4 ทวิภาคของคลื่นและอนุภาค
กิจกรรม : 1. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
2. การสอนแบบสาธิต
3. การสอนแบบบรรยาย
4. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)

สอบปลายภาค
กิจกรรม : สอบปลายภาค

อาจารย์ผู้สอน