รายละเอียด

โรงต้นกำลังไฟฟ้าและสถานีไฟฟ้าย่อย / Power Plant and Substation

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 10 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : ENGEE117
  • ชื่อรายวิชา(TH) : โรงต้นกำลังไฟฟ้าและสถานีไฟฟ้าย่อย
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Power Plant and Substation
  • เทอม / ปีการศึกษา : 2/2564

รายละเอียด

ศึกษาเกี่ยวกับเส้นโค้งโหลด โรงไฟฟ้าดีเซล โรงไฟฟ้าพลังไอน้ํา โรงไฟฟ้ากังหันแก๊ส โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม โรงไฟฟ้าพลังน้ํา โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แหล่งพลังงาน หมุนเวียน ชนิดของสถานีไฟฟ้าย่อย อุปกรณ์สถานีไฟฟ้าย่อย การจัดวางอุปกรณ์ สถานีไฟฟ้าย่อย การควบคุมสถานีไฟฟ้าย่อยแบบอัตโนมัติการป้องกันฟ้าผ่าสําหรับ สถานีไฟฟ้าย่อย ระบบการต่อลงดิน 

 

Study in load curve, diesel power plant, steam power plant, gas turbine power plant, combined cycle power plant, hydro power plant, nuclear power plant, renewable energy sources, type of substation, substation equipment, substation layout, substation automation, lightning protection for substation, grounding systems.

รายวิชา - โรงต้นกำลังไฟฟ้าและสถานีไฟฟ้าย่อย

ระบบไฟฟ้ากำลัง
1.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรงไฟฟ้า
1.2 การคาดคะเนความต้องการไฟฟ้า
1.3 เศรษฐศาสตร์การผลิตไฟฟ้า
1.4 การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของเส้นโค้งโหลด

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

ระบบไฟฟ้ากำลัง (ต่อ)
1.5 เศรษฐศาสตร์การผลิตไฟฟ้า
1.6 ตัวอย่างการวิเคราะห์สร้างโรงไฟฟ้า

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

2. โรงไฟฟ้าพลังงานน้ำ
2.1 บทนำ
2.2 ทฤษฎีเขื่อนแบบต่างๆ
2.3 เขื่อนและโรงไฟฟ้าพลังน้ำในประเทศไทย

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

2. โรงไฟฟ้าพลังงานน้ำ (ต่อ)
2.4 ส่วนประกอบสำคัญของโรงไฟฟ้าพลังน้ำ
2.5 การทำงานของโรงไฟฟ้าพลังงานน้ำ
2.6 ไฮโดรกราฟ

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

โรงไฟฟ้ากังหันไอน้ำ
3.1 การทำงานของโรงไฟฟ้ากังหันไอน้ำ
3.2 ความรู้เกี่ยวกับวัฏจักรไอน้ำ
3.3 ส่วนประกอบสำหรับการผลิตไอน้ำ
3.4 เชื้อเพลิง
3.5 หอระบายความร้อน
3.6 ข้อดีและข้อเสียและการเลือกที่ตั้งของโรงไฟฟ้ากังหันไอน้ำ
3.7 การเลือกที่ตั้งโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำ
3.8 โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนในประเทศไทย




กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

4. โรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ
4.1 โรงไฟฟ้าพลังงานก๊าซ
4.2 กังหันก๊าซ
4.3 วัฏจักรกังหันก๊าซ
4.4 คุณสมบัติของโรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ
4.5 ข้อเด่น ข้อด้อยโรงไฟฟ้าพลังกังหันก๊าซ
4.6 ตัวอย่างโรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

5. โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม
5.1 ลักษณะของโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม
5.2 ระบบการผลิตพลังความร้อนร่วม
5.3 เครื่องต้นกำลังระบบการผลิตพลังความร้อนร่วม
5.4 หลักการทำงานโดยรวมของการผลิตพลังความร้อนร่วม
5.5 การบำรุงรักษาโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม
5.6 การคำนวณเกี่ยวกับโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม
5.7 ข้อดี ข้อเสีย และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม
6. โรงไฟฟ้าดีเซล
6.1 เครื่องยนต์ดีเซล
6.2 ชนิดของเครื่องยนต์ดีเซล
6.3 วัฎจักรเครื่องยนต์ดีเซล
6.4 วิธีการสตาร์ทเครื่องยนต์ดีเซล
6.5 ระบบระบายความร้อน
6.6 ระบบเชื้อเพลิง
6.7การใช้และการระวังรักษาเครื่องยนต์
6.8 ข้อดีและข้อเสียของโรงไฟฟ้าดีเซล
6.9 ตัวอย่างโรงไฟฟ้าดีเซลในประเทศไทย
กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube
อภิปราย กลุ่มการเลือกกังหัน และข้อดี ข้อเสีย จากบทบาทสมมุติ

สอบแลางภาค
กิจกรรม : สอบผ่านระบบ education.rmutl.ac.th

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
7.1 คำสำคัญ
7.2 การทำงานของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
7.3 ชนิดของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
7.4 เชื้อเพลิงนิวเคลียร์
7.5 ข้อดีข้อเสียของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

8. พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าชนิดอื่นๆ
8.1. พลังงานทดแทน
8.2. สถานการณ์พลังงานหมุนเวียนในประเทศไทย
8.3. ก๊าซชีวภาพ
8.4. โรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพ

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

8. พลังงานทดแทน (ต่อ)
8.5. พลังงานลม
8.6. พลังงานแสงอาทิตย์
8.7 โรงไฟฟ้าชนิดอื่น

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

สถานีไฟฟ้าย่อย
9.1 สถานีไฟฟ้า
9.2 หน้าที่และวัตถุประสงค์ของสถานีไฟฟ้า
9.3 ชนิดของสถานีไฟฟ้าย่อย

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

สถานีไฟฟ้าย่อย (ต่อ)
9.4 อุปกรณ์ที่สำคัญในลานไก
9.5 การจัดเรียงบัสภายในสถานีไฟฟ้า

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

ระบบสายดินสถานีไฟฟ้าแรงสูง
10.1 บทนำ
10.2 ความปลอดภัยในระบบต่อลงดิน
10.3 ขนาดกระแสที่สามารถไหลผ่านร่างกายมนุษย์ได้
10.4 วงจรไฟฟ้าเมื่อเกิดอุบัติเหตุ
10.5 เกณฑ์การพิจารณาแรงดันไฟฟ้าที่มนุษย์ทนได้

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

ระบบสายดินสถานีไฟฟ้าแรงสูง (ต่อ)
10.6 ข้อควรพิจารณาในการออกแบบ
10.7 การเลือกสายตัวนำและการต่อ
10.8 ปัจจัยที่มีผลต่อขนาดสายตัวนำ
10.9 คุณสมบัติของดิน
10.10 โครงสร้างของดินและการเลือกแบบจำลองดิน
10.11 การแปลความหมายจากค่าความต้านทานจำเพาะของดินที่วัดได้
10.12 ความต้านทานของระบบต่อลงดิน
10.13 การหากระแสกริดสูงสุด
10.14 การออกแบบระบบต่อลงดิน
10.15 การคำนวณหาแรงดันไฟฟ้าเมชและแรงดันไฟฟ้าช่วงก้าวสูงสุด

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

ระบบป้องกันฟ้าผ่าสถานีไฟฟ้าแรงสูง
11.1 ทฤษฎีฟ้าผ่า
11.2 วิธีป้องกันฟ้าผ่า
11.3 วิธีการหลีกเลี่ยงความเสียหายต่อทรัพย์สิน
11.4 การออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าสถานีไฟฟ้าแรงสูง
11.5 พารามิเตอร์ที่เกี่ยวข้องในการออกแบบ

กิจกรรม : บรรยาย และออกตรวจสถานที่จริง

สอบปลายภาค
กิจกรรม : สอบผ่านระบบ education.rmutl.ac.th

อาจารย์ผู้สอน