รายละเอียด

โรงต้นกำลังไฟฟ้าและสถานีไฟฟ้าย่อย / Power Plant and Substation

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 29 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : ENGEE117
  • ชื่อรายวิชา(TH) : โรงต้นกำลังไฟฟ้าและสถานีไฟฟ้าย่อย
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Power Plant and Substation
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2564

รายละเอียด

เทสๆ

รายวิชา - โรงต้นกำลังไฟฟ้าและสถานีไฟฟ้าย่อย

ระบบไฟฟ้ากำลัง
1.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรงไฟฟ้า
1.2 การคาดคะเนความต้องการไฟฟ้า
1.3 เศรษฐศาสตร์การผลิตไฟฟ้า
1.4 การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของเส้นโค้งโหลด

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

ระบบไฟฟ้ากำลัง (ต่อ)
1.5 เศรษฐศาสตร์การผลิตไฟฟ้า
1.6 ตัวอย่างการวิเคราะห์สร้างโรงไฟฟ้า

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

2. โรงไฟฟ้าพลังงานน้ำ
2.1 บทนำ
2.2 ทฤษฎีเขื่อนแบบต่างๆ
2.3 เขื่อนและโรงไฟฟ้าพลังน้ำในประเทศไทย

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

2. โรงไฟฟ้าพลังงานน้ำ (ต่อ)
2.4 ส่วนประกอบสำคัญของโรงไฟฟ้าพลังน้ำ
2.5 การทำงานของโรงไฟฟ้าพลังงานน้ำ
2.6 ไฮโดรกราฟ

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

โรงไฟฟ้ากังหันไอน้ำ
3.1 การทำงานของโรงไฟฟ้ากังหันไอน้ำ
3.2 ความรู้เกี่ยวกับวัฏจักรไอน้ำ
3.3 ส่วนประกอบสำหรับการผลิตไอน้ำ
3.4 เชื้อเพลิง
3.5 หอระบายความร้อน
3.6 ข้อดีและข้อเสียและการเลือกที่ตั้งของโรงไฟฟ้ากังหันไอน้ำ
3.7 การเลือกที่ตั้งโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำ
3.8 โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนในประเทศไทย




กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

4. โรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ
4.1 โรงไฟฟ้าพลังงานก๊าซ
4.2 กังหันก๊าซ
4.3 วัฏจักรกังหันก๊าซ
4.4 คุณสมบัติของโรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ
4.5 ข้อเด่น ข้อด้อยโรงไฟฟ้าพลังกังหันก๊าซ
4.6 ตัวอย่างโรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

5. โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม
5.1 ลักษณะของโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม
5.2 ระบบการผลิตพลังความร้อนร่วม
5.3 เครื่องต้นกำลังระบบการผลิตพลังความร้อนร่วม
5.4 หลักการทำงานโดยรวมของการผลิตพลังความร้อนร่วม
5.5 การบำรุงรักษาโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม
5.6 การคำนวณเกี่ยวกับโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม
5.7 ข้อดี ข้อเสีย และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม
6. โรงไฟฟ้าดีเซล
6.1 เครื่องยนต์ดีเซล
6.2 ชนิดของเครื่องยนต์ดีเซล
6.3 วัฎจักรเครื่องยนต์ดีเซล
6.4 วิธีการสตาร์ทเครื่องยนต์ดีเซล
6.5 ระบบระบายความร้อน
6.6 ระบบเชื้อเพลิง
6.7การใช้และการระวังรักษาเครื่องยนต์
6.8 ข้อดีและข้อเสียของโรงไฟฟ้าดีเซล
6.9 ตัวอย่างโรงไฟฟ้าดีเซลในประเทศไทย
กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube
อภิปราย กลุ่มการเลือกกังหัน และข้อดี ข้อเสีย จากบทบาทสมมุติ

สอบแลางภาค
กิจกรรม : สอบผ่านระบบ education.rmutl.ac.th

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
7.1 คำสำคัญ
7.2 การทำงานของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
7.3 ชนิดของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
7.4 เชื้อเพลิงนิวเคลียร์
7.5 ข้อดีข้อเสียของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

8. พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าชนิดอื่นๆ
8.1. พลังงานทดแทน
8.2. สถานการณ์พลังงานหมุนเวียนในประเทศไทย
8.3. ก๊าซชีวภาพ
8.4. โรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพ

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

8. พลังงานทดแทน (ต่อ)
8.5. พลังงานลม
8.6. พลังงานแสงอาทิตย์
8.7 โรงไฟฟ้าชนิดอื่น

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

สถานีไฟฟ้าย่อย
9.1 สถานีไฟฟ้า
9.2 หน้าที่และวัตถุประสงค์ของสถานีไฟฟ้า
9.3 ชนิดของสถานีไฟฟ้าย่อย

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

สถานีไฟฟ้าย่อย (ต่อ)
9.4 อุปกรณ์ที่สำคัญในลานไก
9.5 การจัดเรียงบัสภายในสถานีไฟฟ้า

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

ระบบสายดินสถานีไฟฟ้าแรงสูง
10.1 บทนำ
10.2 ความปลอดภัยในระบบต่อลงดิน
10.3 ขนาดกระแสที่สามารถไหลผ่านร่างกายมนุษย์ได้
10.4 วงจรไฟฟ้าเมื่อเกิดอุบัติเหตุ
10.5 เกณฑ์การพิจารณาแรงดันไฟฟ้าที่มนุษย์ทนได้

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

ระบบสายดินสถานีไฟฟ้าแรงสูง (ต่อ)
10.6 ข้อควรพิจารณาในการออกแบบ
10.7 การเลือกสายตัวนำและการต่อ
10.8 ปัจจัยที่มีผลต่อขนาดสายตัวนำ
10.9 คุณสมบัติของดิน
10.10 โครงสร้างของดินและการเลือกแบบจำลองดิน
10.11 การแปลความหมายจากค่าความต้านทานจำเพาะของดินที่วัดได้
10.12 ความต้านทานของระบบต่อลงดิน
10.13 การหากระแสกริดสูงสุด
10.14 การออกแบบระบบต่อลงดิน
10.15 การคำนวณหาแรงดันไฟฟ้าเมชและแรงดันไฟฟ้าช่วงก้าวสูงสุด

กิจกรรม : บรรยายผ่าน microsoft team youtube

ระบบป้องกันฟ้าผ่าสถานีไฟฟ้าแรงสูง
11.1 ทฤษฎีฟ้าผ่า
11.2 วิธีป้องกันฟ้าผ่า
11.3 วิธีการหลีกเลี่ยงความเสียหายต่อทรัพย์สิน
11.4 การออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าสถานีไฟฟ้าแรงสูง
11.5 พารามิเตอร์ที่เกี่ยวข้องในการออกแบบ

กิจกรรม : บรรยาย และออกตรวจสถานที่จริง

สอบปลายภาค
กิจกรรม : สอบผ่านระบบ education.rmutl.ac.th

อาจารย์ผู้สอน