รายละเอียด

ระบบควบคุมอัตโนมัติทางการเกษตร / Automatic Control System for Agriculture

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : BSCFM126
  • ชื่อรายวิชา(TH) : ระบบควบคุมอัตโนมัติทางการเกษตร
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Automatic Control System for Agriculture
  • เทอม / ปีการศึกษา : 2/2565

รายละเอียด

ระบบควบคุมอัตโนมัติทางการเกษตร (Automatic Control System for Agriculture) ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ เซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์ การวัดและการจัดระดับสัญญาณ วงจรสัญญาณเงื่อนไข อุปกรณ์ตัวชักนำ และการควบคุม อุปกรณ์ควบคุมชนิดโปรแกรม ฟังก์ชั่น และการโปรแกรมอุปกรณ์การควบคุม การประยุกต์การใช้งานทางด้านการเกษตร

 

Study and Practice of sensor and transducer, signal measurement and signal condition, signal conditioning circuit, actuator equipment and controlling, programmable controller functions and programming of the programmable controller and ist application on agricultural.

รายวิชา - ระบบควบคุมอัตโนมัติทางการเกษตร

บทที่ 1 แนะนำเรื่องเกษตรอัจฉริยะ (Smart Farming)

- เกษตรอัจฉริยะ คืออะไร
- ที่มาของ เกษตรอัจฉริยะ
- ความสำคัญของเกษตรอัจฉริยะ
- องค์ประกอบของ เกษตรอัจฉริยะ
- เกษตรอัจฉริยะ ในปัจจุบัน
- แรงบรรดาลใจของนักศึกษาเกี่ยวกับ เกษตรอัจฉริยะ

กิจกรรม :

- ภาคบรรยาย: นำเสนอในรูปแบบต่างๆ ยกตัวอย่างประกอบ เกี่ยวกับความเป็นมา ความสำคัญ ตัวอย่างรวมไปถึงสร้างแรงบรรดาลใจให้แก่นักศึกษาเพื่อไปสู่การพัฒนา เกษตรอัจฉริยะ (2 ชั่วโมง)
- ภาคปฏิบัติ: เรียนรู้และเข้าใจภาษา python3 พื้นฐานสำหรับการเขียนโปรแกรม (3 ชั่วโมง)

บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานสำหรับการทำเกษตรอัจฉริยะ (Basics of Smart Farm)
- ความรู้พื้นฐานสำหรับการทำการเกษตรอัจฉริยะ
- พื้นฐานการทำการเกษตร เลี้ยงสัตว์ และประมง 
- พื้นฐานด้านไฟฟ้า, อิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องมือวัด
- พื้นฐานด้านการเขียนโปรแกรมภาษาต่างๆ เช่น C++, Python 
- พื้นฐานด้านเครือข่ายและระบบอินเตอร์เน็ตสำหรับการสื่อสารสู่ภายนอก


กิจกรรม :

- ภาคบรรยาย: บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ- ความรู้พื้นฐานสำหรับการทำการเกษตรอัจฉริยะ, การทำการเกษตร เลี้ยงสัตว์ และประมง, ไฟฟ้า, อิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องมือวัด, พื้นฐานโปรแกรมภาษาต่างๆ เช่น C++, Python, พื้นฐานด้านเครือข่ายและระบบอินเตอร์เน็ตสำหรับการสื่อสารสู่ภายนอก

- ภาคปฏิบัติ: เรียนรู้และเข้าใจภาษา python3 พื้นฐานสำหรับการเขียนโปรแกรม (3 ชั่วโมง)

บทที่ 2 เซ็นเซอร์และทรานสดิวเซอร์
- ความสำคัญของการวัดและการควบคุม
- นิยามอุปกรณ์รอบข้างและคุณลักษณะที่สำคัญของทรานสดิวเซอร์
- คุณลักษณะของทรานสดิวเซอร์ที่ต้องการ
- การเลือกเครื่องมือวัด
- ฝึกปฏิบัติเซ็นเซอร์และทรานสดิวเซอร์

กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบเซ็นเซอร์และทรานสดิวเซอร์ ความสำคัญของการวัดและการควบคุม นิยามอุปกรณ์รอบข้างและคุณลักษณะที่สำคัญของทรานสดิวเซอร์ คุณลักษณะของทรานสดิวเซอร์ที่ต้องการ การเลือกเครื่องมือวัด
- ฝึกปฏิบัติเซ็นเซอร์และทรานสดิวเซอร์

บทที่ 3 การวัดและการจัดระดับสัญญาณ
- ความสำคัญของการวัดการสั่นสะเทือน
- อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการวัดการสั่นสะเทือน
- การวัดการสั่นสะเทือนเบื้องต้น
- การวิเคราะห์ ฟูเรียร์
- ฝึกปฏิบัติทักษะการวัดและการจัดระดับสัญญาณ
กิจกรรม : -บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ การวัดและการจัดระดับสัญญาณ ความสำคัญของการวัดการสั่นสะเทือน อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการวัดการสั่นสะเทือน การวัดการสั่นสะเทือนเบื้องต้น การวิเคราะห์ ฟูเรียร์
- ฝึกปฏิบัติทักษะการวัดและการจัดระดับสัญญาณ

บทที่ 3 การวัดและการจัดระดับสัญญาณ
- ความสำคัญของการวัดการสั่นสะเทือน
- อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการวัดการสั่นสะเทือน
- การวัดการสั่นสะเทือนเบื้องต้น
- การวิเคราะห์ ฟูเรียร์
- ฝึกปฏิบัติทักษะการวัดและการจัดระดับสัญญาณ
กิจกรรม : -บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ การวัดและการจัดระดับสัญญาณ ความสำคัญของการวัดการสั่นสะเทือน อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการวัดการสั่นสะเทือน การวัดการสั่นสะเทือนเบื้องต้น การวิเคราะห์ ฟูเรียร์
- ฝึกปฏิบัติทักษะการวัดและการจัดระดับสัญญาณ

บทที่ 3 การวัดและการจัดระดับสัญญาณ
- ความสำคัญของการวัดการสั่นสะเทือน
- อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการวัดการสั่นสะเทือน

กิจกรรม : -บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ การวัดและการจัดระดับสัญญาณ ความสำคัญของการวัดการสั่นสะเทือน อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการวัดการสั่นสะเทือน การวัดการสั่นสะเทือนเบื้องต้น การวิเคราะห์ ฟูเรียร์
- ฝึกปฏิบัติทักษะการวัดและการจัดระดับสัญญาณ

บทที่ 3 การวัดและการจัดระดับสัญญาณ

- การวิเคราะห์ ฟูเรียร์
- ฝึกปฏิบัติทักษะการวัดและการจัดระดับสัญญาณ
กิจกรรม : -บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ การวัดและการจัดระดับสัญญาณ ความสำคัญของการวัดการสั่นสะเทือน อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการวัดการสั่นสะเทือน การวัดการสั่นสะเทือนเบื้องต้น การวิเคราะห์ ฟูเรียร์
- ฝึกปฏิบัติทักษะการวัดและการจัดระดับสัญญาณ

สอบกลางภาค
กิจกรรม : สอบภาคทฤษฎี

บทที่ 4 วงจรสัญญาณเงื่อนไข
- วงจรกำเนิดสัญญาณ
- วงจรตั้งเวลา
- วงจรเปรียบเทียบแรงดัน
- วงจรขยายสัญญาณความถี่
- ฝึกปฏิบัติทักษะวงจรสัญญาณเงื่อนไข

กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างวงจรสัญญาณเงื่อนไข ประกอบด้วยวงจรกำเนิดสัญญาณ วงจรตั้งเวลา วงจรเปรียบเทียบแรงดัน วงจรขยายสัญญาณความถี่
- ฝึกปฏิบัติทักษะวงจรสัญญาณเงื่อนไข

บทที่ 4 วงจรสัญญาณเงื่อนไข
- วงจรกำเนิดสัญญาณ
- วงจรตั้งเวลา
- วงจรเปรียบเทียบแรงดัน
- วงจรขยายสัญญาณความถี่
- ฝึกปฏิบัติทักษะวงจรสัญญาณเงื่อนไข
กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างวงจรสัญญาณเงื่อนไข ประกอบด้วยวงจรกำเนิดสัญญาณ วงจรตั้งเวลา วงจรเปรียบเทียบแรงดัน วงจรขยายสัญญาณความถี่
- ฝึกปฏิบัติทักษะวงจรสัญญาณเงื่อนไข

บทที่ 5 อุปกรณ์ตัวชักนำ และการควบคุม
- อุปกรณ์ตัวชักนำและการควบคุม
- ฝึกปฏิบัติงานอุปกรณ์ปรับแต่งสัญญาณและการควบคุม

กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบอุปกรณ์ตัวชักนำ และการควบคุม อุปกรณ์ตัวชักนำและการควบคุม
- ฝึกปฏิบัติงานอุปกรณ์ปรับแต่งสัญญาณและการควบคุม

บทที่ 5 อุปกรณ์ตัวชักนำ และการควบคุม
- อุปกรณ์ตัวชักนำและการควบคุม
- ฝึกปฏิบัติงานอุปกรณ์ปรับแต่งสัญญาณและการควบคุม

กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบอุปกรณ์ตัวชักนำ และการควบคุม อุปกรณ์ตัวชักนำและการควบคุม
- ฝึกปฏิบัติงานอุปกรณ์ปรับแต่งสัญญาณและการควบคุม

บทที่ 6 อุปกรณ์ควบคุมชนิดโปรแกรม และการโปรแกรมอุปกรณ์ควบคุม PLC
- ชนิดของโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ ด้วย PLC
- การใช้โปรแกรมควบคุมอุปกรณ์
- ฝึกปฏิบัติอุปกรณ์ควบคุมชนิดโปรแกรม PLC

กิจกรรม : - บรรยายและยกตัวอย่างอุปกรณ์ควบคุมชนิดโปรแกรม ชนิดของโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ การใช้โปรแกรมควบคุมอุปกรณ์
- ฝึกปฏิบัติอุปกรณ์ควบคุมชนิดโปรแกรม PLC

บทที่ 6 อุปกรณ์ควบคุมชนิดโปรแกรม และการโปรแกรมอุปกรณ์ควบคุม PLC
- ชนิดของโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์
- การใช้โปรแกรมควบคุมอุปกรณ์
- ฝึกปฏิบัติอุปกรณ์ควบคุมชนิดโปรแกรม PLC
กิจกรรม : - บรรยายและยกตัวอย่างอุปกรณ์ควบคุมชนิดโปรแกรม ชนิดของโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ การใช้โปรแกรมควบคุมอุปกรณ์
- ฝึกปฏิบัติอุปกรณ์ควบคุมชนิดโปรแกรม PLC

บทที่ 7 การประยุกต์การใช้งานทางด้านการเกษตร
- ระบบควบคุมอัตโนมัติแบบป้อนกลับ
- ระบบ Auto Tune
- ระบบเครือข่ายไร้สายพลังงานต่ำ
- ระบบตรวจสอบความผิดพลาด
- ฝึกปฏิบัติการประยุกต์การใช้งานทางด้านการเกษตร
กิจกรรม : - บรรยายและยกตัวอย่างการประยุกต์การใช้งานทางด้านการเกษตร เช่น ระบบควบคุมอัตโนมัติแบบป้อนกลับ ระบบ Auto Tune ระบบเครือข่ายไร้สายพลังงานต่ำ ระบบตรวจสอบความผิดพลาด
- ฝึกปฏิบัติการประยุกต์การใช้งานทางด้านการเกษตร

บทที่ 7 การประยุกต์การใช้งานทางด้านการเกษตร
- ระบบควบคุมอัตโนมัติแบบป้อนกลับ
- ระบบ Auto Tune
- ระบบเครือข่ายไร้สายพลังงานต่ำ
- ระบบตรวจสอบความผิดพลาด
- ฝึกปฏิบัติการประยุกต์การใช้งานทางด้านการเกษตร
กิจกรรม : - บรรยายและยกตัวอย่างการประยุกต์การใช้งานทางด้านการเกษตร เช่น ระบบควบคุมอัตโนมัติแบบป้อนกลับ ระบบ Auto Tune ระบบเครือข่ายไร้สายพลังงานต่ำ ระบบตรวจสอบความผิดพลาด
- ฝึกปฏิบัติการประยุกต์การใช้งานทางด้านการเกษตร

สอบปลายภาค
กิจกรรม : สอบภาคทฤษฎี

อาจารย์ผู้สอน