รายละเอียด

กลศาสตร์ของไหล / Fluid Mechanics

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : ENGME104
  • ชื่อรายวิชา(TH) : กลศาสตร์ของไหล
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Fluid Mechanics
  • เทอม / ปีการศึกษา : 2/2563

รายละเอียด

นักศึกษา Fluid ที่เรียนกับอาจารย์น้ำมนต์ ทันทีที่เห็นข้อความนี้ ให้ตัวแทนกลุ่ม 6152 และ 6252 และ 6254 โทรหาอาจารย์ 0858669848 หรือแอดไลน์อาจารย์ dr.nammont เพื่อนัดหมายวิธีการสอนหลังปัใหม่ด้วยครับ

รายวิชา - กลศาสตร์ของไหล

บทที่ 1 บทนํา
1.1 ความสําคัญของกลศาสตร์ของไหล
1.2 ประวัติความเป็นมาของกลศาสตร์ของไหล
1.3 นิยามของของไหล
1.4 มิติและหน่วย
1.4.1 ระบบ MLtT
1.4.2 ระบบ FLtT
1.4.3 ระบบ FMLtT
1.5 หน่วยของปริมาณทางฟิสิกส์ทสี่ ําคัญ
1.5.1 หน่วยพื้นฐาน
1.5.2 หน่วยอนุพันธ์
1.5.3 คํานําหน้าหน่วยในระบบเอสไอ
กิจกรรม : บรรยาย พร้อม
ยกตัวอย่างประกอบ/
นําเสนอโดย Power
Point








บทที่ 2 คุณสมบัติของของไหล
2.1 ความหนาแน่น
2.2 น้ําหนักจําเพาะ
2.3 ความถ่วงจําเพาะ
2.4 ปรมาตรจําเพาะ
2.5 ความหนืด
2.6 แรงตึงผิว
2.7 ความสามารถในการบีบอัดตัวของของไหล
2.8 กฎของก๊าซอุดมคติ

กิจกรรม : บรรยาย พร้อม
ยกตัวอย่างประกอบ/
นําเสนอโดย Power
Point








บทที่ 3 ของไหลสถิต
3.1 ความหมายของความดัน
3.2 ความดันที่จุดในของไหลสถิต
3.3 สมการพื้นฐานของของไหลสถิต
3.4 การวิเคราะห์หาค่าการเปลี่ยนแปรของความดันในของไหล
สถิต
3.4.1 การเปลี่ยนแปรความดันสําหรับของไหลอัดตัวไม่ได้
3.4.2 การเปลี่ยนแปรความดันสําหรับของไหลอัดตัวได้

กิจกรรม : บรรยาย พร้อม
ยกตัวอย่างประกอบ/
นําเสนอโดย Power
Point

บทที่ 3 ของไหลสถิต (ต่อ)
3.5 การวัดความดัน
3.6 อุปกรณ์วัดความดัน
3.6.1 บารอมิเตอร์
3.6.2 มานอมิเตอร์
3.6.3 อุปกรณว์ ัดความดันทางกลและทางอิเลคทรอนิกส์
3.7 แรงที่กระทําต่อผิววัตถุที่จมอยู่ในของไหล
3.7.1 แรงที่กระทําบนแผ่นราบที่จมอยู่ในของไหลสถิต
3.7.2 แรงที่กระทําต่อผิววัตถุโค้งที่จมอยู่ในของไหลสถิต
3.8 แรงลอยตัวและเสถียรภาพ


กิจกรรม : บรรยาย พร้อม
ยกตัวอย่างประกอบ/
นําเสนอโดย Power
Point








บทที่ 4 จลนศาสตร์ของของไหลและการวิเคราะห์เชิงปริมาตร
ควบคุม
4.1 การแบ่งประเภทของการไหล
4.1.1 การแบ่งประเภทของการไหลตามความหนืด
4.1.2 การแบ่งประเภทของการไหลตามความราบเรียบของ
การไหล
4.1.3 การแบ่งประเภทของการไหลตามความสามารถในการ
อัดตัว
4.1.4 การแบ่งประเภทของการไหลตามขอบเขตของการไหล
4.1.5 การแบ่งประเภทของการไหลตามการเปลี่ยนแปลง
ตามเวลา
4.2 สนามความเร็ว
4.2.1 การบรรยายการไหลแบบออยเลอร์ และแบบลาก
รานจ์
4.2.2 การไหลแบบหนึ่งมิติ, สองมิติ และสามมิติ
4.2.3 รูปแบบของการไหล
4.3 กฎพื้นฐานสําหรับระบบ
4.3.1 กฎการอนุรักษ์มวล
4.3.2 กฎข้อที่สองของนิวตันหรือกฎอนุรักษ์โมเมนตัม
4.3.3 หลักการของการอนุรักษ์ของโมเมนตัมเชิงมุม
4.3.4 กฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดมานิกส์หรือกฎอนุรักษ์พลังงาน
4.3.5 กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดมิกส์


กิจกรรม : บรรยาย พร้อม
ยกตัวอย่างประกอบ/
นําเสนอโดย Power
Point








บทที่ 4 จลนศาสตร์ของของไหลและการวิเคราะห์เชิงปริมาตร
ควบคุม (ต่อ)
4.4 การเขียนกฎพื้นฐานเพื่อใช้กับปริมาตรควบคุม
4.4.1 ความสัมพันธ์ของสมบัติของไหลซึ่งอ้างอิงด้วยระบบ
กับสมบัติ ของไหลซึ่งอ้างอิงด้วยปริมาตรควบคุม
4.5 สมการของการอนุรักษ์มวล
4.6 สมการโมเมนตัมที่ใช้กับปริมาตรควบคุม

กิจกรรม : บรรยาย พร้อม
ยกตัวอย่างประกอบ/
นําเสนอโดย Power
Point

บทที่ 4 จลนศาสตรของของไหลและการวเคราะหเชิงปรมาตร
ควบคุม (ต่อ
4.7 สมการโมเมนตัมที่ใช้กับปริมาตรควบคุมที่มีการเคลื่อนที่
4.7.1 ปริมาตรควบคุมเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่
4.7.2 ปริมาตรควบคุมที่เคลื่อนที่ด้วยความเร่งแบบเชิง
เส้นตรง
4.7.3 ปริมาตรควบคุมที่เคลื่อนที่ด้วยความเร่งใดๆ
4.8 หลักการของโมเมนตัมเชิงมุม
4.9 กฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์
4.10 กฎข้อทส่ องของเทอร์โมไดนามิกส์

กิจกรรม : บรรยาย พร้อม
ยกตัวอย่างประกอบ/
นําเสนอโดย Power
Point

บทที่ 5 การวิเคราะห์เชิงอนุพันธ์ของการเคลื่อนที่ของของไหล

5.1 จลศาสตร์ของอนุภาคของไหล
5.2 ความเร่งของอนุภาคของของไหล

กิจกรรม : บรรยาย พร้อม
ยกตัวอย่างประกอบ/
นําเสนอโดย Power
Point

สอบกลางภาคเรียน
กิจกรรม :

บทที่ 5 การวิเคราะห์เชิงอนุพันธ์ของการเคลื่อนที่ของของไหล
(ต่อ)
5.3 สมการของการอนุรักษ์มวล
5.4 สมการโมเมนตัมในรูปอนพุ ันธ์
5.5 สมการนาเวียร์สโตกส์

กิจกรรม : บรรยาย พร้อม
ยกตัวอย่างประกอบ/
นําเสนอโดย Power
Point

บทที่ 5 การวิเคราะห์เชิงอนุพันธ์ของการเคลื่อนที่ของของไหล
(ต่อ)
5.6 สมการออยเลอร์สําหรับการไหลไร้ความหนืด
5.7 สมการเบอร์นูลี
5.7.1 การวิเคราะห์บนแกนพิกัดเส้น streamline
5.7.2 สมการออยเลอร์บนแกนพิกัด n
5.8 ความดันสถิต ความดันพบวัต และความดันรวม

กิจกรรม : บรรยาย พร้อม
ยกตัวอย่างประกอบ/
นําเสนอโดย Power
Point

บทที่ 6 การวิเคราะห์เชิงมิติและความคล้ายคลึง
6.1 การวิเคราะห์เชิงมิติ
6.2 ทฤษฎีบักกิงแฮม ไพ
6.3 พารามิเตอร์ไร้มิติที่มีความหมายทางกายภาพ
6.4 การศึกษาความคล้ายแบบจําลอง
6.4.1 ความคล้ายคลึงเชิงเรขาคณิต
6.4.2 ความคล้ายคลึงเชิงจลนศาสตร์
6.4.3 ความคล้ายคลึงเชิงพลวัต
6.4.4 การวิเคราะห์เพื่อใช้ในการศึกษาแบบจําลอง
6.4.5 การทดลองในกรณีที่การไหลไม่สามารถมีความ
คล้ายคลึงที่แท้จริง
6.4.6 การศึกษาการไหลที่ขน้ กับพารามิเตอร์ไร้มิติตามหลาย
ค่า
6.4.7 การทดลองแบบจําลองโดยใช้อุโมงค์ลม และอุโมงคน์ ้ํา

กิจกรรม : บรรยาย พร้อม
ยกตัวอย่างประกอบ/
นําเสนอโดย Power
Point

บทที่ 7 การไหลแบบภายใน
7.1 คุณลักษณะทั่วไปของการไหลภายใน
7.2 การไหลช่วงขาเข้าและการไหลแบบพัฒนาเต็มที่
7.3 การไหลที่มีการพัฒนาเต็มที่ในสภาวะการไหลแบบราบเรียบ
7.3.1 การไหลที่มีการพัฒนาเต็มที่ในสภาวะการไหลแบบ
ราบเรียบผ่านแผ่นราบที่วางขนาน
7.3.2 การไหลที่มีการพัฒนาเต็มที่ในสภาวะการไหลแบบ
ราบเรียบในท่อกลม

กิจกรรม : บรรยาย พร้อม
ยกตัวอย่างประกอบ/
นําเสนอโดย Power
Point

บทที่ 7 การไหลแบบภายใน (ต่อ)
7.4 การไหลที่มีการพัฒนาเต็มที่ในสภาวะการไหลแบบปั่นป่วน

7.5 การสูญเสียในการไหลในท่อ
กิจกรรม : บรรยาย พร้อม
ยกตัวอย่างประกอบ/
นําเสนอโดย Power
Point

บทที่ 7 การไหลแบบภายใน (ต่อ)
7.6 การสูญเสียหลักและการสูญเสียรอง
7.6.1 การสูญเสียหลัก
7.6.2 การสูญเสียรอง

กิจกรรม : บรรยาย พร้อม
ยกตัวอย่างประกอบ/
นําเสนอโดย Power
Point

บทที่ 8 การวดการไหลในทอ่
8.1 อุปกรณ์การวัดที่ใช้หลักการของวัดการไหลโดยตรง
8.2 มาตรวัดที่ใช้หลักการที่ก่อให้เกิดความดันตกคร่อมในท่อ
8.2.1 มาตรวัดอัตราการไหลแบบออริฟิค
8.2.2 มาตรวัดอัตราการไหลแบบหัวฉีด
8.2.3 มาตรวัดอัตราการไหลแบบเวนจูรี
8.3 มาตรวัดการไหลที่ใช้หลักการของการแปรแบบเชิงเส้น
8.3.1 มาตรวัดอัตราการไหลแบบโรตามิเตอร์
8.3.2 มาตรวัดอัตราการไหลแบบเทอร์ไบน์
8.3.3 มาตรวัดอัตราการไหลแบบแบบอัลทราโซนิก
8.4 มาตรวัดการไหลที่ใช้วิธีวัดแบบตามขวาง
8.4.1 มาตรความเร็วลมแบบใบพัดหมุน
8.4.2 มาตรความเร็วลมแบบเส้นลวดร้อน
8.4.3 ท่อปิโตสถิต
8.4.4 เครื่องวัดความเร็วแบบเลเซอร์ดอปเพลอร์

กิจกรรม : บรรยาย พร้อม
ยกตัวอย่างประกอบ/
นําเสนอโดย Power
Point

สอบปลายภาคเรียน
กิจกรรม :

อาจารย์ผู้สอน