รายละเอียด

กลศาสตร์พื้นฐานเครื่องจักรกลเกษตร 1 / Fundamental of Agricultural Machinery Mechanics 1

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : BSCFM102
  • ชื่อรายวิชา(TH) : กลศาสตร์พื้นฐานเครื่องจักรกลเกษตร 1
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Fundamental of Agricultural Machinery Mechanics 1
  • เทอม / ปีการศึกษา : 2/2563

รายละเอียด

เทสๆ

รายวิชา - กลศาสตร์พื้นฐานเครื่องจักรกลเกษตร 1

บทที่ 1 ระบบแรง
หน่วยและปริมาณพื้นฐาน ระบบหน่วย เลขนั ยสำคัญ
แรง มวล น้ำหนัก ความเฉื่อย กฎของนิวตัน

กิจกรรม : -กิจกรรมทำความรู้จักอาจารย์และนักศึกษาพร้อมแบ่งกลุ่มเรียน
-ชี้แจงลักษณะรายวิชา การแบ่งหน่วยเรียน กิจกรรมการเรียนการสอน วิธีการวัดและประเมินผล
-สร้างข้อตกลงร่วมกันในการจัดการเรียนการสอน
-แนะนำเอกสารและเว็บไซด์ที่เกี่ยวข้อง
-กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน
-บรรยายภาคทฤษฎีพร้อมยกตัวอย่าง( PowerPoint)

บทที่ 1 ระบบแรง
เวกเตอร์ของแรง การรวมเวกเตอร์โดยวิธีการเขียนรูป การรวมเวกเตอร์โดยการคำนวณ

กิจกรรม : -กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน -บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint
-ผู้สอนให้แบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน

บทที่ 1 ระบบแรง
การรวมแรงและการแยกแรง แรงลัพธ์ และแรง
องค์ประกอบในระบบ 2 มิติ แรงลัพธ์ และแรง
องค์ประกอบในระบบ 3 มิติ

กิจกรรม : -กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน -บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint
-ผู้สอนให้แบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน

บทที่ 2 สมดุลของแรง
สมดุลต่อการเลื่อนตำแหน่ง แผนภาพวัตถุอิสระ
สมดุลของแรงในระบบ 2 มิติ

ปฏิบัติการทดลอง(สมดุลของแรง สมดุลของแรงขนาน)

กิจกรรม : -กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน -บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint
-ผู้สอนให้แบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน
ฝึกปฏิบัติการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ

บทที่ 2 สมดุลของแรง
สมดุลของแรงในระบบ 3 มิติ

กิจกรรม : -กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน -บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint
-ผู้สอนให้แบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน
ฝึกปฏิบัติการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ

บทที่ 2 สมดุลของแรง
สมดุลต่อการหมุน โมเมนต์คู่ควบ ทฤษฎีของวาริยอง
สมดุลของวัตถุแข็งเกร็งต่อการหมุน

กิจกรรม : -กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน -บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint
-ผู้สอนให้แบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน
ฝึกปฏิบัติการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ

สอบกลางภาค
กิจกรรม :

บทที่ 3 แรงเสียดทานและจุดศูนย์ถ่วง
แรงเสียดทาน แรงเสียดทานสถิตย์และแรงเสียด
ทานจลน์ แรงเสียดทานบนพื้นราบและพื้นเอียง
จุดศูนย์ถ่วง จุดศูนย์กลางมวล และจุดเซ็นทรอยด์
จุดศูนย์ถ่วงของวัตถุรูปทรงเรขาคริตจุดศูนย์กลางมวล และจุดเซ็นทรอยด์ของเส้นจุดศูนย์กลางมวล และจุดเซ็นทรอยด์ของพื้นที่

กิจกรรม : -กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน -บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint
-ผู้สอนให้แบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน
ฝึกปฏิบัติการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ

บทที่ 4 การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่ 1 มิติ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันการเคลื่อนที่เชิงเส้น

กิจกรรม : -กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน -บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint
-ผู้สอนให้แบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน
ฝึกปฏิบัติการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ

บทที่ 4 การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่ 2 มิติการเคลื่อนที่วิถีโค้ง

กิจกรรม : -กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน -บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint
-ผู้สอนให้แบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน
ฝึกปฏิบัติการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ

บทที่ 5 การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง
วัตถุแข็งเกร็งความหมายของวัตถุแข็งเกร็ง การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็งโมเมนต์ของความเฉื่อย
ความหมายโมเมนต์ของความเฉื่อยโมเมนต์ความเฉื่อยของวัตถุของรูปทรงต่าง ๆ

กิจกรรม : -กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน -บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint
-ผู้สอนให้แบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน
ฝึกปฏิบัติการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ

บทที่ 5 การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง
สมการการเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็งเมื่อ
มีการหมุนความสัมพันธ์ของทอร์กกับการ
เปลี่ยนโมเมนตัมเชิงมุมโจทย์การเคลื่อนที่สำหรับการหมุน
ของวัตถุแข็งเกร็งการหมุนของวัตถุแข็งเกร็งพลังงานจลน์ของวัตถุแข็งเกร็งเมื่อมีการหมุน การเคลื่อนที่แบบหมุนและเลื่อน
ตำแหน่งกำลังงานการหมุนของวัตถุแข็งเกร็ง

กิจกรรม : -กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน -บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint
-ผู้สอนให้แบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน
ฝึกปฏิบัติการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ

บทที่ 6 ความยืดหยุ่น
สมบัติยืดหยุ่นของของแข็งความเค้นความเครียด มอดูลัส
มอดูลัสของยังมอดูลัสของสภาพแข็งเกร็ง

กิจกรรม : -กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน -บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint
-ผู้สอนให้แบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน
ฝึกปฏิบัติการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ

บทที่ 7 การประยุกต์หลักการสมดุลในการหาแรงในโครงสร้างและเครื่องจักรกล - ลักษณะอาการของวัตถุที่อยู่ในภาวะสมดุลสถิตย์ สมดุลจลน์ และยกตัวอย่างในชีวิตประจำวัน - เงื่อนไขของสมดุลต่อการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการหมุน และสมดุลกล - วิเคราะห์แรงที่กระทำต่อส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างที่อยู่ในสภาวะสมดุล - ฝึกปฏิบัติงานการประยุกต์หลักการสมดุลในการหาแรงในโครงสร้างและเครื่องจักรกล
กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบลักษณะอาการของวัตุที่อยู่ในภาวะสมดุลสถิตย์ สมดุลจลน์ และยกตัวอย่างในชีวิตประจำวัน เกี่ยวกับการสมดุลต่อการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการหมุน และสมดุลกล วิเคราะห์แรงที่กระทำต่อส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างที่อยู่ในสภาวะสมดุล - ฝึกปฏิบัติงานการประยุกต์หลักการสมดุลในการหาแรงในโครงสร้างและเครื่องจักรกล

บทที่ 7 การประยุกต์หลักการสมดุลในการหาแรงในโครงสร้างและเครื่องจักรกล - ลักษณะอาการของวัตถุที่อยู่ในภาวะสมดุลสถิตย์ สมดุลจลน์ และยกตัวอย่างในชีวิตประจำวัน - เงื่อนไขของสมดุลต่อการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการหมุน และสมดุลกล - วิเคราะห์แรงที่กระทำต่อส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างที่อยู่ในสภาวะสมดุล - ฝึกปฏิบัติงานการประยุกต์หลักการสมดุลในการหาแรงในโครงสร้างและเครื่องจักรกล
กิจกรรม : - บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบลักษณะอาการของวัตุที่อยู่ในภาวะสมดุลสถิตย์ สมดุลจลน์ และยกตัวอย่างในชีวิตประจำวัน เกี่ยวกับการสมดุลต่อการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการหมุน และสมดุลกล วิเคราะห์แรงที่กระทำต่อส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างที่อยู่ในสภาวะสมดุล - ฝึกปฏิบัติงานการประยุกต์หลักการสมดุลในการหาแรงในโครงสร้างและเครื่องจักรกล

ทบทวนบทเรียน
นำเสนอรายงาน การประยุกต์หลักการสมดุลในการหาแรงในโครงสร้างและเครื่องจักรกล
กิจกรรม :
-นำเสนอผลงาน ( PowerPoint )
-อภิปรายร่วมกันระหว่างผู้สอนกับนักศึกษาและเปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

สอบปลายภาค
กิจกรรม :

อาจารย์ผู้สอน