รายละเอียด

ฟิสิกส์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร / Physics for Agro- Industry

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : BSCCC103
  • ชื่อรายวิชา(TH) : ฟิสิกส์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Physics for Agro- Industry
  • เทอม / ปีการศึกษา : 2/2563

รายละเอียด

รายวิชา - ฟิสิกส์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

2 ชั่วโมงบรรยาย
กิจกรรมสร้างความคุ้นเคยและแบ่งกลุ่ม
บทที่ 1 บทนำและความรู้พื้นฐานทางฟิสิกส์

3 ชั่วโมงปฏิบัติการ
กิจกรรมสร้างความคุ้นเคยและแบ่งกลุ่มสำหรับทำการทดลอง ชี้แจงการเรียนการสอน
กิจกรรม : ชั่วโมงบรรยาย
-กิจกรรมทำความรู้จักอาจารย์และนักศึกษาพร้อมแบ่งกลุ่มเรียน
-ชี้แจงลักษณะรายวิชา การแบ่งหน่วยเรียน กิจกรรมการเรียนการสอน วิธีการวัดและประเมินผล
-สร้างข้อตกลงร่วมกันในการจัดการเรียนการสอน
-แนะนำเอกสารและเว็บไซด์ที่เกี่ยวข้อง
-กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียนเรื่องการหาขนาดและทิศทาง
-บรรยายภาคทฤษฎีพร้อมยกตัวอย่าง( PowerPoint)


ชั่วโมงปฏิบัติการ
กิจกรรมการเรียน
1. ขั้นตอนนำเข้าสู่บทเรียน - ผู้สอนสอดแทรกการพัฒนา น.ศ. ด้านคุณธรรม จริยธรรม - นำเข้าสู่บทเรียน
2. ขั้นตอนการสอนและกิจกรรมฯ - บรรยายเนื้อหา - แบ่งกลุ่มนักศึกษา แจกใบงาน เพื่อ มอบหมายงาน และทำกิจกรรม
3. สื่อการสอน - เครื่องคอมพิวเตอร์และโปรแกรม คณิตศาสตร์ - แบบฝึกทักษะ
-ชี้แจงลักษณะรายวิชา การแบ่งหน่วยเรียน กิจกรรมการเรียนการสอน วิธีการวัดและประเมินผล
-สร้างข้อตกลงร่วมกันในการจัดการเรียนการสอน
-แนะนำเอกสารและเว็บไซด์ที่เกี่ยวข้อง
-บรรยายโดยใช้เอกสารประกอบตามความเหมาะสม


2 ชั่วโมงบรรยาย

บทที่ 2 จลนศาสตร์ (kinematics)
ปริมาณต่างๆ ของการเคลื่อนที่ การเคลื่อนที่ 1 มิติด้วยความเร่งคงที่ แนวราบ


3 ชั่วโมงปฏิบัติการ
อธิบายการใช้เครื่องมือปฏิบัติการต่างๆ
กิจกรรม : ชั่วโมงบรรยาย

-กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน
-บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน
- ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม (กลุ่มละ 1 ข้อ) พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียนหรือผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล
-ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม แลกเปลี่ยน 1 นาที 1 คติประจำใจของนักศึกษา


ชั่วโมงปฏิบัติการ
-บรรยายโดยใช้เอกสารประกอบตามความเหมาะสม
และการทดลองปฏิบัติใช้เครื่องมือวัดพื้นฐาน

2 ชั่วโมงบรรยาย
บทที่ 2 จลนศาสตร์ (kinematics)
การเคลื่อนที่ การเคลื่อนที่ 1 มิติ แนวดิ่งการเคลื่อนที่ 2 มิติ
วิถีโค้ง-วงกลม



3 ชั่วโมงปฏิบัติการ
ทดลองปฏิบัติการครั้งที่ 1
ปฏิบัติการทดลอง(การวัด )
กิจกรรม : ชั่วโมงบรรยาย
-กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน
-บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน
- ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม (กลุ่มละ 1 ข้อ) พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียนหรือผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล
-ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม แลกเปลี่ยน 1 นาที 1 คติประจำใจของนักศึกษา



ชั่วโมงปฏิบัติการ
ทดลองปฏิบัติการ พร้อมส่งผลการทดลอง นำเสนอ ตรวจสอบ
และทำรายงานการทดลองส่ง

2 ชั่วโมงบรรยาย
บทที่ 3 พลศาสตร์ (Dynamics)
การเคลื่อนที่และกฎของนิวตัน แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
การประยุกต์ใช้กฎของนิวตัน



3 ชั่วโมงปฏิบัติการ
ทดลองปฏิบัติการครั้งที่ 2
ปฏิบัติการทดลองพลศาสตร์(ความเร็วเฉลี่ยและความเร็วขณะใด ๆ)
กิจกรรม : ชั่วโมงบรรยาย
-กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน
-บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน
-ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสมเช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม (กลุ่มละ 1 ข้อ) พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียนหรือผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล
-ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม แลกเปลี่ยน 1 นาที 1 คติประจำใจของนักศึกษา



ชั่วโมงปฏิบัติการ
ทดลองปฏิบัติการ พร้อมส่งผลการทดลอง นำเสนอ ตรวจสอบ
และทำรายงานการทดลองส่ง

2 ชั่วโมงบรรยาย
บทที่ 4 กลศาสตร์ของไหล
ความดันและแรงดัน ความดันของของเหลว ลักษณะสำคัญของ ความดันของของเหลวการวัดความดันบรรยากาศ การบอกความดันของบรรยากาศ ความตึงผิว แรงตึงผิว



3 ชั่วโมงปฏิบัติการ
ทดลองปฏิบัติการครั้งที่ 3
ปฏิบัติการทดลองความเร็วและความเร่งของวัตถุที่ตกอย่างอิสระ
กิจกรรม : ชั่วโมงบรรยาย
-กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน
-บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน
- ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม (กลุ่มละ 1 ข้อ) พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียนหรือผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล
-ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม แลกเปลี่ยน 1 นาที 1 คติประจำใจของนักศึกษา



ชั่วโมงปฏิบัติการ
ทดลองปฏิบัติการ พร้อมส่งผลการทดลอง นำเสนอ ตรวจสอบ
และทำรายงานการทดลองส่ง

2 ชั่วโมงบรรยาย

บทที่ 5 คลื่นกลและเสียง
เสียง สมบัติของคลื่นเสียง
ระดับความเข้มเสียง
การนำความรู้เรื่องเสียง
ไปใช้ประโยชน์


3 ชั่วโมงปฏิบัติการ
ทดลองปฏิบัติการครั้งที่ 4
ปฏิบัติการทดลอง(การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ )
กิจกรรม : ชั่วโมงบรรยาย
-กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน
-บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน
-ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสมเช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม (กลุ่มละ 1 ข้อ) พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียนหรือผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล
-ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม แลกเปลี่ยน 1 นาที 1 คติประจำใจของนักศึกษา



ชั่วโมงปฏิบัติการ
ทดลองปฏิบัติการ พร้อมส่งผลการทดลอง นำเสนอ ตรวจสอบ
และทำรายงานการทดลองส่ง

2 ชั่วโมงบรรยาย
บทที่ 6 ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์
อุณหภูมิและความร้อน
ปริมาณความร้อน ความจุความร้อน และ ความร้อนแฝง การถ่ายโอนความร้อนโดยการนำ การพาและการแผ่รังสี ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์
การขยายตัวของก๊าซ
กฏของก๊าซ ทฤษฎีจลน์



3 ชั่วโมงปฏิบัติการ
ทดลองปฏิบัติการครั้งที่ 5
ปฏิบัติการทดลอง(การสัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน )
กิจกรรม : ชั่วโมงบรรยาย
-กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน
-บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน
-ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม (กลุ่มละ 1 ข้อ) พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียนหรือผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล
-ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม แลกเปลี่ยน 1 นาที 1 คติประจำใจของนักศึกษา



ชั่วโมงปฏิบัติการ
ทดลองปฏิบัติการ พร้อมส่งผลการทดลอง นำเสนอ ตรวจสอบ
และทำรายงานการทดลองส่ง

สอบกลางภาค
กิจกรรม : สอบวัดความรู้ ความเข้าใจ

2 ชั่วโมงบรรยาย
บทที่ 7 สนามแม่เหล็ก
ประวัติและความเป็นมา
ความเข้มสนามแม่เหล็ก



3 ชั่วโมงปฏิบัติการ
ทดลองปฏิบัติการครั้งที่ 6
ปฏิบัติการทดลอง(สัมประสิทธิ์ความหนืดของของเหลว)
กิจกรรม : ชั่วโมงบรรยาย
-กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน
-บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน
- ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม (กลุ่มละ 1 ข้อ) พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียนหรือผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล
-ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม แลกเปลี่ยน 1 นาที 1 คติประจำใจของนักศึกษา



ชั่วโมงปฏิบัติการ
ทดลองปฏิบัติการ พร้อมส่งผลการทดลอง นำเสนอ ตรวจสอบ
และทำรายงานการทดลองส่ง

2 ชั่วโมงบรรยาย
บทที่ 7 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ของแมกซ์เวลล์
สเปกตรัมของคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า
การสื่อสารด้วยคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า



3 ชั่วโมงปฏิบัติการ
ทดลองปฏิบัติการครั้งที่ 7
ปฏิบัติการโวลท์มิเตอร์ แอมมิเตอร์
กิจกรรม : ชั่วโมงบรรยาย
-กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน
-บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน
- ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม (กลุ่มละ1 ข้อ) พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียนหรือผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล
-ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม แลกเปลี่ยน 1 นาที 1 คติประจำใจของนักศึกษา



ชั่วโมงปฏิบัติการ
ทดลองปฏิบัติการ พร้อมส่งผลการทดลอง นำเสนอ ตรวจสอบ
และทำรายงานการทดลองส่ง

2 ชั่วโมงบรรยาย
บทที่ 8 ไฟฟ้าเบื้องต้น
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า
กฎของโอห์มและความต้านทาน



3 ชั่วโมงปฏิบัติการ
ทดลองปฏิบัติการครั้งที่ 8
ปฏิบัติการตัวต้านทานแบบต่าง ๆ
กิจกรรม : ชั่วโมงบรรยาย
-กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน
-บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน
- ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม (กลุ่มละ1ข้อ) พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียนหรือผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล
-ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม แลกเปลี่ยน 1 นาที 1 คติประจำใจของนักศึกษา



ชั่วโมงปฏิบัติการ
ทดลองปฏิบัติการ พร้อมส่งผลการทดลอง นำเสนอ ตรวจสอบ
และทำรายงานการทดลองส่ง

2 ชั่วโมงบรรยาย
บทที่ 8 ไฟฟ้าเบื้องต้น
การต่อความต้านทาน
แรงเคลื่อนไฟฟ้า
พลังงานและกำลังในวงจรไฟฟ้า
กฎของเคิร์ชฮอฟฟ์



3 ชั่วโมงปฏิบัติการ
ทดลองปฏิบัติการครั้งที่ 9
ปฏิบัติการวงจรไฟฟ้ากระแสตรง ( อนุกรม )
กิจกรรม : ชั่วโมงบรรยาย
-บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint
-ผู้สอนให้แบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน
-ผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล
-ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม แลกเปลี่ยน 1 นาที 1 คติประจำใจของนักศึกษา



ชั่วโมงปฏิบัติการ
ทดลองปฏิบัติการ พร้อมส่งผลการทดลอง นำเสนอ ตรวจสอบ
และทำรายงานการทดลองส่ง

2 ชั่วโมงบรรยาย
บทที่ 9 ไฟฟ้ากระแสสลับ
เครื่องกำเนิดไฟฟ้า ไฟฟ้ากระแสสลับ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับอย่างง่าย วงจรอนุกรม R – L และวงจรอนุกรม R – C วงจรขนาน R – L – Cกำลังไฟฟ้าในวงจรกระแสสลับ



3 ชั่วโมงปฏิบัติการ
ทดลองปฏิบัติการครั้งที่ 10
ปฏิบัติการวงจรไฟฟ้ากระแสตรง ( ขนาน )
กิจกรรม : ชั่วโมงบรรยาย
-กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียนเรื่องการวัดระดับเสียง
-บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint
-ผู้สอนให้แบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน
-ผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล
-ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม แลกเปลี่ยน 1 นาที 1 คติประจำใจของนักศึกษา



ชั่วโมงปฏิบัติการ
ทดลองปฏิบัติการ พร้อมส่งผลการทดลอง นำเสนอ ตรวจสอบ
และทำรายงานการทดลองส่ง

2 ชั่วโมงบรรยาย
บทที่ 10แสง ธรรมชาติของแสง สมบัติของแสง
ทัศนอุปกรณ์
ตาและการมองเห็นสี



3 ชั่วโมงปฏิบัติการ
ทบทวนการทดลอง
กิจกรรม : ชั่วโมงบรรยาย
-กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน
-บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน
-ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียนหรือผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล
-ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม แลกเปลี่ยน 1 นาที 1 คติประจำใจของนักศึกษา



ชั่วโมงปฏิบัติการ
ให้คำปรึกษาส่วนที่นักศึกษามีติดขัด

2 ชั่วโมงบรรยาย
บทที่ 11 อิเลคทรอนิกส์พื้นฐานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น


3 ชั่วโมงปฏิบัติการ
ทบทวนการทดลอง
กิจกรรม : ชั่วโมงบรรยาย
-กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน
-บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน
-ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียนหรือผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล
-ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม แลกเปลี่ยน 1 นาที 1 คติประจำใจของนักศึกษา



ชั่วโมงปฏิบัติการ
ให้คำปรึกษาส่วนที่นักศึกษามีติดขัด

2 ชั่วโมงบรรยาย
นำเสนอรายงานทคโนโลยีใหม่ๆที่ประยุกต์วิชาฟิสิกส์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตรกับวิชาชีพ( 1 เรื่องต่อกลุ่ม )สรุปประมวลรายงานของนักศึกษา


3 ชั่วโมงปฏิบัติการ
สอบปฏิบัติการทดลอง
กิจกรรม : ชั่วโมงบรรยาย
-กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียนเรื่องความดันของเหลว
-บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint
-ผู้สอนให้แบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน
-ผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล
-ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม แลกเปลี่ยน 1 นาที 1 คติประจำใจของนักศึกษา



ชั่วโมงปฏิบัติการ
สอบวัดความรู้ ความเข้าใจ

สอบปลายภาค
กิจกรรม : สอบวัดความรู้ ความเข้าใจ

อาจารย์ผู้สอน