รายละเอียด

อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม / Industrial Electronics

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : ENGEL126
  • ชื่อรายวิชา(TH) : อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Industrial Electronics
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

เทสๆ

รายวิชา - อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม

• แนะนำรายวิชา
• วิธีการศึกษา
• เอกสารตำราเรียนที่เกี่ยวข้อง
• การวัดผล
• การพบอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้คำแนะนำเพิ่มเติม
• นำสู่การเรียนรู้ประเด็นอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์

กิจกรรม : บรรยาย แนวการศึกษา
แนะนำรายวิชา
ชมภาพยนตร์ เรื่อง อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม

หน่วยที่ 1 ตัวแปลง
1.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับตัวแปลง
1.1.1 ความหมายของตัวแปลง
1.1.2 ชนิดของตัวแปลง
1.2 ตัวแปลงทางความต้านทาน
1.2.1 หลักการของตัวแปลงตำแหน่งแบบความต้านทาน
1.2.2 การหาค่าแรงดันเอาต์พุทของตัวแปลงตำแหน่งแบบความต้านทาน
1.2.3 หลักการทำงานของสเตรนเกจ
1.2.4 ตัวอย่างการใช้งานของสเตรนเกจ
1.3 ตัวแปลงทางความจุไฟฟ้า
1.3.1 หลักการของตัวแปลงทางความจุไฟฟ้า
1.3.2 ตัวอย่างการใช้งานของตัวแปลงทางความจุไฟฟ้า
1.4 ตัวแปลงทางความเหนี่ยวนำไฟฟ้า
1.4.1 หลักการำงานของตัวแปลงแบบความเหนี่ยวนำไฟฟ้า
1.4.2 การห่าแรงดันเอาต์พุทของตัวแปลงแบบความเหนี่ยวนำไฟฟ้า
1.5 ตัวแปลงทางอุณหภูมิ
1.5.1 หลักการของตัวแปลงทางอุณหภูมิแบบความต้านทาน
1.5.2 วงจรการต่อใช้งานตัวแปลงทางอุณหภูมิแบบความต้านทาน
1.5.3 หลักการและการใช้งานของเทอร์มอคับเปิล
1.5.4 หลักการและการใช้งานของเทอร์มิสเตอร์
1.6 ตัวแปลงทางแสง
1.6.1 หลักการและการใช้งานของเซลล์การนำพลังแสง
1.6.2 หลักการและการใช้งานของเซลล์แรงดันพลังแสง
1.6.3 หลักการและการใช้งานของไดโอดพลังแสง
1.6.4 หลักการและการใช้งานของทรานซิสเตอร์พลังแสง

กิจกรรม : บรรยาย ประกอบสื่อ
ปฏิบัติในห้อปฏิบัติการสอดคล้องกับประเด็นที่ศึกษา

แบ่งกลุ่มอภิปราย ตัวแปลง 6 ประเด็น
เฉพาะกลุ่มประเด็นที่ 1-3
กิจกรรม : แบ่งกลุ่มอภิปราย
ปฏิบัติในห้อปฏิบัติการสอดคล้องกับประเด็นที่ศึกษา

แบ่งกลุ่มอภิปราย ตัวแปลง 6 ประเด็น
เฉพาะกลุ่มประเด็นที่ 4-6
กิจกรรม : แบ่งกลุ่มอภิปราย
ปฏิบัติในห้อปฏิบัติการสอดคล้องกับประเด็นที่ศึกษา

หน่วยที่ 2 ไดโอดกำลังและทรานซิสเตอร์กำลัง
2.1 ไดโอดกำลัง
2.1.1 ชนิดของไดโอดกำลัง
2.1.2 คุณลักษณะของไดโอดกำลัง
2.1.3 การใช้งานของไดโอดกำลัง
2.2 สวิตช์ทรานซิสเตอร์ในอุดมคติ
2.2.1 การทำงานของทรานซิสเตอร์ในอุดมคติ
2.2.2 การคำนวณค่ากระแสและแรงดันของวงจร
สวิตช์ทรานซิสเตอร์ในอุดมคติ
2.3 สวิตช์ทรานซิสเตอร์ที่ใช้งานจริง
2.3.1 คุณลักษณะของสวิตช์ทรานซิสเตอร์ที่ใช้งานจริง
2.3.2 ช่วงเวลาในการสวิตช์ของทรานซิสเตอร์ที่ใช้งานจริง
2.3.3 การหาค่ากระแสและแรงดันในวงจรสวิตช์ของทรานซิสเตอร์
ที่ใช้งานจริง
2.4 เจ เฟต
2.4.1 โครงสร้างและสัญลักษณ์ของเจ เฟต
2.4.2 หลักการทำงานของเจ เฟต
2.5 มอส เฟต
2.5.1 โครงสร้างและสัญลักษณ์ของมอส เฟต
2.5.2 หลักการทำงานของมอส เฟต
2.5.3 การนำไปใช้งานของมอส เฟต

กิจกรรม : บรรยาย ประกอบสื่อ
ปฏิบัติในห้อปฏิบัติการสอดคล้องกับประเด็นที่ศึกษา

หน่วยที่ 3 ไทริสเตอร์
3.1 ความรู้ทั่วไปของไทริสเตอร์
3.1.1 ความหมายของไทริสเตอร์
3.2 เอส ซี อาร์
3.2.1 หลักการทำงานของเอส ซี อาร์
3.2.2 คุณลักษณะของเอส ซี อาร์
3.2.3 การจุดชนวนเกต
3.2.4 การทำให้เอส ซี อาร์หยุดนำกระแส
3.2.5 การต่อเอส ซี อาร์แบบอนุกรมและขนาน
3.3 ไทรแอก
3.3.1 หลักการทำงานของไทรแอก
3.3.2 การใช้งานของไทรแอก
3.4 เอส ซี เอส
3.4.1 หลักการทำงานของเอส ซี เอส
3.4.2 คุณลักษณะของเอส ซี เอส
3.4.3 วิธีการทำให้เอส ซี เอสหยุดนำกระแส
3.5 จี ที โอ
3.5.1 หลักการทำงานของจี ที โอ
3.5.2 คุณลักษณะของจี ที โอ
3.5.3 วิธีการทำให้จี ที โอหยุดนำกระแส

กิจกรรม : บรรยาย ประกอบสื่อ
ปฏิบัติในห้อปฏิบัติการสอดคล้องกับประเด็นที่ศึกษา

ทบทวนประเด็นศึกษา
กิจกรรม : .ซักถาม ตอบคำถาม
ปฏิบัติในห้อปฏิบัติการสอดคล้องกับประเด็นที่ศึกษา

สอบกลางภาคตามตาราง
กิจกรรม : สอบกลางภาคตามตาราง

หน่วยที่ 4 อุปกรณ์ทริกเกอร์
4.1 ช็อคคลีไดโอด (Shockley Diode)
4.1.1 โครงสร้างของช็อคคลีไดโอด
4.1.2 หลักการทำงานและวงจรใช้งานของช็อคคลีไดโอด
4.2 โครงสร้างของไดแอก
4.2.1 โครงสร้างของไดแอก
4.2.2 หลักการทำงานและวงจรใช้งานของไดแอก
4.3 ยู เจ ที (UJT)
4.3.1 โครงสร้างยู เจ ที
4.3.2 หลักการทำงานและวงจรใช้งานของยู เจ ที
4.4 พัต(PUT)
4.4.1 โครงสร้างของพัต
4.4.2 หลักการทำงานและวงจรใช้งานของพัต
4.5 เอส บี เอส(SBS)
4.5.1 โครงสร้างของเอส บี เอส
4.5.2 หลักการทำงานและวงจรใช้งานของเอส บี เอส
4.6 เอส ยู เอส(SUS)
4.6.1 โครงสร้างของเอส ยู เอส
4.6.2 หลักการทำงานและวงจรใช้งานของเอส ยู เอส

กิจกรรม : บรรยาย ประกอบสื่อ
ปฏิบัติในห้อปฏิบัติการสอดคล้องกับประเด็นที่ศึกษา

แบ่งกลุ่มอภิปราย 6 ประเด็น

กิจกรรม : แบ่งกลุ่มอภิปราย
ปฏิบัติในห้อปฏิบัติการสอดคล้องกับประเด็นที่ศึกษา

หน่วยที่ 5 การควบคุมเฟส
5.1 หลักการควบคุมเฟส
5.1.1 ความหมายของการควบคุมเฟส
5.1.2 ลักษณะรูปคลื่นที่ควบคุมด้วยไทริสเตอร์
5.2 การคำนวณค่าแรงดันโหลดเฉลี่ยของวงจรควบคุมเฟส
5.2.1 วิธีการคำนวณค่าแรงดันเฉลี่ยที่โหลดของวงจรควบคุมแบบครึ่งคลื่น
5.2.2 วิธีการคำนวณค่าแรงดันเฉลี่ยที่โหลดของวงจรควบคุมแบบเต็มคลื่น
5.3 วิธีการควบคุมเฟส
5.3.1 ชนิดของการควบคุมเฟส
5.3.2 วิธีการควบคุมเฟสทางแนวดิ่ง
5.3.3 วิธีการควบคุมเฟสทางแนวนอน
5.4 การออกแบบวงจรควบคุมเฟส
5.4.1 การคำนวณหาค่าพารามิเตอร์ของวงจรควบคุมเฟสแบบใช้ตัวต้านทาน
5.4.2 การคำนวณหาค่าพารามิเตอร์ของวงจรควบคุมเฟสแบบใช้ตัวเก็บประจุ

กิจกรรม : บรรยาย ประกอบสื่อ
ปฏิบัติในห้อปฏิบัติการสอดคล้องกับประเด็นที่ศึกษา

หน่วยที่ 5 การควบคุมเฟส(ต่อ)
5.3 วิธีการควบคุมเฟส
5.3.1 ชนิดของการควบคุมเฟส
5.3.2 วิธีการควบคุมเฟสทางแนวดิ่ง
5.3.3 วิธีการควบคุมเฟสทางแนวนอน
5.4 การออกแบบวงจรควบคุมเฟส
5.4.1 การคำนวณหาค่าพารามิเตอร์ของวงจรควบคุมเฟสแบบใช้ตัวต้านทาน
5.4.2 การคำนวณหาค่าพารามิเตอร์ของวงจรควบคุมเฟสแบบใช้ตัวเก็บประจุ

กิจกรรม : บรรยาย ประกอบสื่อ
ปฏิบัติในห้อปฏิบัติการสอดคล้องกับประเด็นที่ศึกษา

หน่วยที่ 6 แปลงผัน
6.1 หลักการของวงจรแปลงผัน
6.1.1 หลักการเบื้องต้นของวงจรแปลงผัน
6.1.2 แผนผังหลักการของวงจรแปลงผัน
6.2 วงจรชอปเปอร์
6.2.1 หลักการของวงจรชอปเปอร์
6.2.2 การใช้งานของวงจรชอปเปอร์

กิจกรรม : บรรยาย ประกอบสื่อ
ปฏิบัติในห้อปฏิบัติการสอดคล้องกับประเด็นที่ศึกษา

หน่วยที่ 6 แปลงผัน(ต่อ)
6.3 วงจรอินเวอร์เตอร์
6.3.1 หลักการทำงานของวงจรอินเวอร์เตอร์
6.3.2 ลักษณะวงจรใช้งานของวงจรอินเวอร์เตอร์

กิจกรรม : บรรยาย ประกอบสื่อ
ปฏิบัติในห้อปฏิบัติการสอดคล้องกับประเด็นที่ศึกษา

หน่วยที่ 6 แปลงผัน(ต่อ)
6.4 วงจรไซโคคอนเวอร์เตอร์
6.4.1 หลักการทำงานของวงจรไซโคคอนเวอร์เตอร์
6.4.2 การทำงานของวงจรไซโคคอนเวอร์เตอร์เฟสเดียว
6.4.3 การทำงานของวงจรไซโคคอนเวอร์เตอร์สามเฟส

กิจกรรม : บรรยาย ประกอบสื่อ
ปฏิบัติในห้อปฏิบัติการสอดคล้องกับประเด็นที่ศึกษา

ทบทวน
กิจกรรม : .ซักถาม ตอบคำถาม
สอบปฏิบัติ

สอบปลายภาคตามตาราง
กิจกรรม : สอบปลายภาคตามตาราง

อาจารย์ผู้สอน