รายละเอียด

เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ / Creative Economy

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : 44022407
  • ชื่อรายวิชา(TH) : เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Creative Economy
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

เทสๆ

รายวิชา - เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์

บทที่ 1 ความเป็นมาและแนวคิดของเศรษฐกิจสร้างสรรค์
1.1 ความหมายและความเป็นมาของเศรษฐกิจสร้างสรรค์
1.1.1 ความสำคัญของของเศรษฐกิจสร้างสรรค์
1.1.2 ความเป็นมาของเศรษฐกิจสร้างสรรค์
1.1.3 ความหมายของของเศรษฐกิจสร้างสรรค์
1.2 แนวคิดของเศรษฐกิจสร้างสรรค์
1.2.1 นโยบายรัฐบาล
1.2.2 แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
1.2.3 3.การขับเคลื่อนพัฒนาศักยภาพเศรษฐกิจสร้างสรรค์ภายใต้แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ
1.3 ปฏิบัติการศึกษาการส่งเสริมเศรษฐกิจผ่านการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์

กิจกรรม : สอนออนไลน์

บทที่ 1 ความเป็นมาและแนวคิดของเศรษฐกิจสร้างสรรค์
1.4 ประเภทของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
1.4.1 กลุ่มมรดกทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ (Cultural Heritage)
1.4.2 กลุ่มศิลปะ (Arts)
1.4.3 กลุ่มสื่อ (Media)
1.4.4 กลุ่มงานสร้างสรรค์ตามลักษณะงาน (Functional Creation)
1.5 ขอบเขตของเศรษฐกิจสร้างสรรค์
1.5.1 ประเด็นยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของไทย
1.5.2 ประเด็นยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสภาพแวดล้อม
1.5.3 ประเด็นยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาผู้ประกอบการธุรกิจและบุคลากรด้านสร้างสรรค์
1.5.4 ประเด็นยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาด้านสถาบันและการติดตามประเมินผล
1.6 ปฏิบัติการศึกษาแบบอย่างสื่อออนไลน์
1.6.1 เว็ปไซต์
1.6.2 เฟสบุ๊ค
1.6.3 ไลน์
1.6.4 อินสตราแกรม
1.6.5 ทวิตเตอร์


กิจกรรม : สอนออนไลน์

บทที่ 2 ทรัพย์สินทางปัญญาและนวัตกรรมทางความคิด
2.1 ทรัพย์สินทางปัญญา
2.1.1 ความหมายและความสำคัญของทรัพย์สินทางปัญญา
2.1.2 บทบาทของกรมทรัพย์สินทางปัญญา
2.1.3 สถาบันส่งเสริมการสร้างสรรค์
2.2 ประเภทของทรัพย์สินทางปัญญา
2.2.1 ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม
2.2.2 ลิขสิทธิ์
2.3 ปฏิบัติการศึกษาการขอยื่นจดลิขสิทธิ์
2.3.1 สิทธิบัตร
1.6.2 อนุสิทธิบัตร
1.6.3 เครื่องหมายการค้า
1.6.4 ความลับทางการค้า
1.6.5 สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์

กิจกรรม : สอนออนไลน์

บทที่ 2 ทรัพย์สินทางปัญญาและนวัตกรรมทางความคิด
2.4 นวัตกรรมทางความคิด
2.4.1 ความแตกต่างระหว่างความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) กับนวัตกรรม (Innovation)
2.4.2 การคิดเชิงนวัตกรรม (Innovative Thinking)
2.4.3 ทักษะการคิด (Thinking skill)
2.5 การพัฒนานวัตกรรมทางความคิด
2.2.1 การพัฒนาบุคคลากรนวัตกรรมเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน (People & Process Innovation)
2.2.2 การพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์หรือนวัตกรรมเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า (Product/Service Innovation)
2.2.3 การพัฒนานวัตกรรมรูปแบบธุรกิจใหม่ๆ (Business Model Innovation)
2.3 ปฏิบัติการกำหนดแนวคิดในการผลิตสื่อ
2.3.1 การจัดทำหนังสือเรื่องราวและภาพลักษณ์ (Story and Image Book)
2.3.2 การกำหนดแนวความคิดเบื้องต้นเพื่อการจัดทำหนังสือ

กิจกรรม : สอนออนไลน์

บทที่ 3 ความคิดสร้างสรรค์และทักษะการคิด
3.1 ความคิดสร้างสรรค์
3.1.1 ความสำคัญของความคิดสร้างสรรค์
3.1.2 ที่มาของความคิดสร้างสรรค์
3.1.3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
3.2 ประเภทของความคิดสร้างสรรค์
3.2.1 ความคิดแปลกใหม่
3.2.2 ความคิดหลากหลาย
3.2.3 ความคิดยืดหยุ่น
3.2.4 ความคิดละเอียดละออ
3.3 ขั้นตอนการคิดสร้างสรรค์
3.3.1 การเตรียมความคิด
3.3.1 การฟักความคิด
3.3.1 การคิดออก
3.3.1 การพิสูจน์ความคิด
3.4 ปฏิบัติการรวบรวมผลงาน
3.4.1 การบันทึกเรื่องราว

กิจกรรม : สอนออนไลน์

บทที่ 3 ความคิดสร้างสรรค์และทักษะการคิด
3.5 ทักษะการคิด
3.5.1 การคิดสร้างสรรค์ (Creative thinking)
3.5.2 การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical thinking)
3.5.3 การคิดเชิงวิพากษ์ (Critical thinking)
3.5.4 การคิดเชิงกลยุทธ์ (strategic thinking)
3.5.5 การคิดเชิงกลยุทธ์ (strategic thinking)
3.5.6 การคิดเปรียบเทียบ (comparative thinking)
3.5.7 การคิดเชิงบวก (Positive thinking)
3.5.8 การคิดเชิงนวัตกรรม (Innovative thinking)
3.5.9 การคิดเชิงระบบ (System thinking)
3.6 การพัฒนาทักษะการคิด
3.6.1 ด้านความรู้ (Knowledge : K)
3.6.2 ด้านกระบวนการ(Process : P)
3.6.3 เจตคติ (Attitude : A)
3.4 ปฏิบัติการรวบรวมผลงาน
3.4.2 การวิเคราะห์ภาพลักษณ์

กิจกรรม : สอนออนไลน์

บทที่ 3 ความคิดสร้างสรรค์และทักษะการคิด
3.5 ทักษะการคิด
3.5.1 การคิดสร้างสรรค์ (Creative thinking)
3.5.2 การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical thinking)
3.5.3 การคิดเชิงวิพากษ์ (Critical thinking)
3.5.4 การคิดเชิงกลยุทธ์ (strategic thinking)
3.5.5 การคิดเชิงกลยุทธ์ (strategic thinking)
3.5.6 การคิดเปรียบเทียบ (comparative thinking)
3.5.7 การคิดเชิงบวก (Positive thinking)
3.5.8 การคิดเชิงนวัตกรรม (Innovative thinking)
3.5.9 การคิดเชิงระบบ (System thinking)
3.6 การพัฒนาทักษะการคิด
3.6.1 ด้านความรู้ (Knowledge : K)
3.6.2 ด้านกระบวนการ(Process : P)
3.6.3 เจตคติ (Attitude : A)
3.4 ปฏิบัติการรวบรวมผลงาน
3.4.3 การสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์

กิจกรรม : สอนออนไลน์

สอบกลางภาคเรียน
กิจกรรม :

บทที่ 4 อัจฉริยภาพท้องถิ่น อัตลักษณ์และการสร้างมูลค่าเพิ่ม
4.1 อัจฉริยภาพท้องถิ่น
3.1.1 ความหมายของอัจฉริยภาพแห่งท้องถิ่น (Genius Loci)
3.1.2 อัจฉริยภาพแห่งท้องถิ่นกับงานออกแบบ
4.2 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
4.2.1 ความสำคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่น
4.2.2 การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น
4.2.3 การต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
3.3 ปฏิบัติการศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น
3.3.1 อิทธิพลวัฒนธรรมท้องถิ่นที่มีต่อจินตนาการ
3.3.2 ผลิตภัณฑ์และภูมิปัญญาท้องถิ่น

กิจกรรม : 1. บรรยาย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงาน

บทที่ 4 อัจฉริยภาพท้องถิ่น อัตลักษณ์และการสร้างมูลค่าเพิ่ม
4.4 อัตลักษณ์
4.4.1 ความหมายของอัตลักษณ์
4.4.2 การศึกษาอัตลักษณ์
4.4.3 การพัฒนาอัตลักษณ์
4.4.4 การนำเสนออัตลักษณ์
4.5 ปฏิบัติการสร้างอัตลักษณ์
4.5.1 การศึกษาภูมิหลังวิสาหกิจชุมชน
4.5.2 การนำเสนออัตลักษณ์ชุมชน

กิจกรรม : 1. บรรยาย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงาน

บทที่ 4 อัจฉริยภาพท้องถิ่น อัตลักษณ์และการสร้างมูลค่าเพิ่ม
4.6 การสร้างมูลค่าเพิ่ม
4.6.1 ความหมายของการสร้างมูลค่าเพิ่ม
4.6.2 ความสำคัญของการสร้างมูลค่าเพิ่ม
4.6.3 แนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่ม
4. 7 การส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิ่ม
4.7.1 บูรณาการความคิด
4.7.2 การพัฒนาอุตสาหกรรมท้องถิ่น
4.8 ปฏิบัติการสร้างมูลค่าเพิ่ม
4.8.1 การศึกษากลุ่มเป้าหมาย
4.8.2 การศึกษาแนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่ม

กิจกรรม : 1. บรรยาย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงาน

บทที่ 5 แนวทางการทำ Creative Mapping
5.1 Creative Mapping
5.1.1 ความหลากหลายเชิงสร้างสรรค์ (Creative Diversity)
5.1.2 เมืองสร้างสรรค์ (Creative City)
5.1.3 ชุมชนแห่งความคิดสร้างสรรค์ (Creative Community)
5.2 ปฏิบัติการศึกษาแผนที่เชียงใหม่สร้างสรรค์ (Creative Chiangmai Mapping)
5.2.1 เทศกาลงานออกแบบเชียงใหม่ (Chiang Mai Design Week)
5.2.2 TEDxChiang Mai
5.2.3 Chiang Mai Design Awards

กิจกรรม : 1. บรรยาย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงาน

บทที่ 5 แนวทางการทำ Creative Mapping
5.3 องค์กรส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
5.3.1 องค์กรส่งเสริมด้านสถาปัตยกรรมและการออกแบบเมือง (Architecture and Urban Design)
5.3.2 องค์กรส่งเสริมด้านศิลปวัฒนธรรม (Culture and Art)
5.3.3 องค์กรส่งเสริมด้านการออกแบบ (Cross-Functional)
5.4 ปฏิบัติการออกแบบและผลิตสื่อดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการขาย
5.4.1 การกำหนดแนวคิดธุรกิจ (Business Concept)

กิจกรรม : 1. บรรยาย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงาน

บทที่ 5 แนวทางการทำ Creative Mapping
5.5 พื้นที่สร้างสรรค์ (Creative Area)
5.5.1 แหล่งจำหน่ายสินค้าหัตถกรรม (Craft)
5.5.2 หอศิลป์และข่วงศิลปะ (Galleries and Art Spaces)
5.4 ปฏิบัติการออกแบบและผลิตสื่อดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการขาย
5.4.2 การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย (Focus Group)

กิจกรรม : 1. บรรยาย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงาน

บทที่ 5 แนวทางการทำ Creative Mapping
5.5 พื้นที่สร้างสรรค์ (Creative Area)
5.5.3 ตลาดนัดวัฒนธรรม (Lifestyle Market)
5.5.4 Coworking and Creative Spaces
5.4 ปฏิบัติการออกแบบและผลิตสื่อดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการขาย
5.4.3 การออกแบบสื่อดิจอิทัล (Fan Page Design)

กิจกรรม : 1. บรรยาย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงาน

บทที่ 5 แนวทางการทำ Creative Mapping
5.6..กิจกรรมเชิงสร้างสรรค์
5.6.1 กิจกรรมสร้างสรรค์ในท้องถิ่น
5.6.2 งานสร้างสรรค์ระดับจังหวัด
5.6.3 งานสร้างสรรค์ระดับประเทศ
5.6.4 งานสร้างสรรค์ระดับนานาชาติ
5.4 ปฏิบัติการออกแบบและผลิตสื่อดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการขาย
5.4.4 การติดตามและประมวลผล Follow up and Monitoring

กิจกรรม : 1. บรรยาย
2. เอกสารประกอบการสอน
3. ใบงาน

สอบปลายภาคเรียน
กิจกรรม :

อาจารย์ผู้สอน