รายละเอียด

แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 1 / Calculus and Analytic Geometry 1

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 5 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : LP-13011132
  • ชื่อรายวิชา(TH) : แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 1
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Calculus and Analytic Geometry 1
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

https://teams.microsoft.com/l/team/19%3ad9e6c826eb714c06942df12f7d93a38b%40thread.tacv2/conversations?groupId=2a849e92-86a0-4a7d-9ec2-20b0d5e649ac&tenantId=2c0a3819-8c66-4ae1-9a99-3832d9facbd9

รายวิชา - แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 1

เมทริกซ์และเทอร์มิแนนต์

1.1 นิยาม รูปแบบ การเท่ากัน การบวกและการคูณเมทริกซ์

1.1.1 นิยาม รูปแบบของเมทริกซ์

1.1.2 ชนิดต่างๆของเมทริกซ์

1.1.3 การเท่ากันของเมทริกซ์

1.1.4 การบวกเมทริกซ์

1.1.5 การคูณเมทริกซ์

เมทริกซ์และเทอร์มิแนนต์

1.2 ดีเทอร์มิแนนต์

1.2.1 นิยามและรูปแบบของดีเทอมิแนนต์

1.2.2 การหาค่าดีเทอมิแนนต์

1.2.3 สมบัติของดีเทอมิแนนต์

 

1.3 เมตริกซ์ผูกพันและเมตริกซ์ผกผัน

1.3.1 ความหมายของเมตริกซ์ผูกพันธ์

1.3.2 การหาเมตริกซ์ผูกพัน

1.3.3 ความหมายของเมตริกซ์ผกผัน

1.3.4 การหาเมตริกซ์ผกผัน

2. จำนวนเชิงซ้อน

2.1 จำนวนเชิงซ้อนในรูปพิกัดฉาก

2.1.1 ความหมายของจำนวนเชิงซ้อน

2.1.2 การหาค่าของ In เมื่อ n เป็นจำนวนเต็ม

2.1.3 การเท่ากันของจำนวนเชิงซ้อน

2.1.4 การบวก การคูณ และการหารจำนวนเชิงซ้อน

2. จำนวนเชิงซ้อน

2.2 จำนวนเชิงซ้อนในรูปแบบอื่น ๆ

2.2.1 จำนวนเชิงซ้อนในรูปพิกัดฉากเป็นรูปเชิงขั้ว

2.2.2 จำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้วเป็นพิกัดฉาก

2.2.3 ผลคูณ ผลหารของจำนวนเชิงซ้อนในรูปพิกัดเชิงขั้ว

2.2.4 จำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้วเป็นรูปเลขชี้กำลัง

2.2.5 ผลบวก ผลต่าง ผลคูณ และผลหารของจำนวนเชิงซ้อนในรูปเลขชี้กำลัง

2.2.6 ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน

2. จำนวนเชิงซ้อน

2.3 การยกกำลังของจำนวนเชิงซ้อน

2.3.1 การยกกำลังของจำนวนเชิงซ้อนโดยใช้ทฤษฎีบทเดอร์มัวร์

2.3.2 รากอันดับที่ n ของจำนวนเชิงซ้อน

3. เรขาคณิตวิเคราะห์

3.1 เส้นตรง

3.1.1 ระยะทางระหว่างจุด 2 จุดบนระนาบ x y

3.1.2 จุดแบ่งระหว่างจุด 2 จุด

3.1.3 มุมเอียงและความชันของเส้นตรง

3.2 สมการเส้นตรง

3.2.1 รูปทั่วไปของสมการเส้นตรง

3.2.2 สมการเส้นตรงเมื่อกำหนดจุด 2 จุด

3.2.3 สมการเส้นตรงเมื่อกำหนดความชันและจุด 1 จุดบนเส้นตรง

3.2.4 สมการเส้นตรงเมื่อกำหนดความชันและส่วนตัดแกน y

3.2.5 สมการเส้นตรงเมื่อกำหนดส่วนตัดแกน x และส่วนตัดแกน y

3.2.6 ระยะทางจากจุดใด ๆ ไปยังสมการเส้นตรง

3.2.7 สมการเส้นคู่ขนานและระยะทางระหว่างเส้นคู่ขนาน

4. ฟังก์ชัน ลิมิตและความต่อเนื่อง

4.1 ฟังก์ชัน

4.1.1 นิยามของฟังก์ชัน

4.1.2 ชนิดต่าง ๆ ของฟังก์ชัน

4.1.3 พีชคณิตของฟังก์ชัน

4.1.4 ฟังก์ชันประกอบ

4.1.5 ฟังก์ชันผกผัน

สอบกลางภาค

4. ฟังก์ชัน ลิมิตและความต่อเนื่อง

4.2 ลิมิต และความต่อเนื่องของฟังก์ชัน

4.2.1 แนวคิดเบื้องต้นของลิมิต

4.2.2 การหาค่าลิมิตของฟังก์ชัน

4.2.3 ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน

5. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

5.1 อนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต

5.1.1 ส่วนเพิ่ม

5.1.2 นิยามอนุพันธ์ของฟังก์ชัน

5.1.3 อนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิตโดยใช้นิยาม

5.1.4 อนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิตโดยใช้สูตร

5. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

5.2 อนุพันธ์ฟังก์ชันประกอบ ฟังก์ชันโดยปริยายและอนุพันธ์อันดับสูง

5.2.1 อนุพันธ์ของฟังก์ชันประกอบ

5.2.2 อนุพันธ์ของฟังก์ชันโดยปริยาย

5.2.3 อนุพันธ์อันดับสูง

5. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

5.3 อนุพันธ์ฟังก์ชันอดิสัย

5.3.1 อนุพันธ์ฟังก์ชันลอการิทึม

5.3.2 อนุพันธ์ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง

5.3.3 อนุพันธ์ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

5.3.4 อนุพันธ์ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน

6. การประยุกต์อนุพันธ์

6.1 อนุพันธ์ในทางเรขาคณิต

6.1.1 ความหมายของอนุพันธ์ในทางเรขาคณิต

6.1.2 สมการของเส้นสัมผัสและเส้นปกติ

6.2 ค่าเชิงอนุพันธ์ และการหาค่าโดยประมาณ

6.2.1 ความหมายของค่าเชิงอนุพันธ์

6.2.2 การหาค่าโดยประมาณ

6. การประยุกต์อนุพันธ์

6.3 ความเร็วและความเร่ง

6.3.1 ความเร็ว

6.3.2 ความเร่ง

6.4 อัตราสัมพัทธ์

6.4.1 ความหมายของอัตราสัมพัทธ์

6.4.2 การแก้ปัญหาเรื่องอัตราสัมพัทธ์

6. การประยุกต์อนุพันธ์

6.5 ค่าสูงสุดหรือค่าต่ำสุดของฟังก์ชัน

6.5.1 ความหมายของค่าสูงสุดหรือค่าต่ำสุดของฟังก์ชัน

6.5.2 ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด

6.5.3 การเขียนกราฟของฟังก์ชัน

6.5.4 การแก้ปัญหาค่าสูงสุดและค่าต่ำสุด

สอบปลายภาค

อาจารย์ผู้สอน