รายละเอียด

การสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่น / Auditing and Assurance

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : BACAC135
  • ชื่อรายวิชา(TH) : การสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่น
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Auditing and Assurance
  • เทอม / ปีการศึกษา : 2/2562

รายละเอียด

เทสๆ

รายวิชา - การสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่น

บทที่ 1 ภาพรวมของการสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่น
งานที่ให้ความเชื่อมั่น
- คำจำกัดความ วัตถุประสงค์และประเภทของงานที่ให้ความเชื่อมั่น
- ขอบเขตของแม่บทสำหรับงานที่ให้ความเชื่อมั่น
- การรับงานที่ให้ความเชื่อมั่น
- องค์ประกอบของงานที่ให้ความเชื่อมั่น
แนวคิดเกี่ยวกับการสอบบัญชี
- ความหมายของการสอบบัญชี
- วัตถุประสงค์ของการสอบบัญชี
- ความต้องการเชิงเศรษฐกิจของงานสอบบัญชี
- ความแตกต่างระหว่างการสอบบัญชีกับการบัญชี
- กระบวนการของการสอบบัญชี
- การกำกับดูแลกิจการกับการสอบบัญชี
ประเภทของการตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบและสำนักงานสอบบัญชี
- ประเภทของการตรวจสอบ
- ประเภทของตรวจสอบ
- สำนักงานสอบบัญชี
การตรวจสอบงบการเงิน
- ความรับผิดชอบต่องบการเงิน
- หลักการพื้นฐานของการตรวจสอบงบการเงิน
- ข้อจำกัดของการตรวจสอบงบการเงิน
- สถานการณ์แวดล้อมที่มีต่องบการเงิน

กิจกรรม : กิจกรรม
- บรรยาย ถาม-ตอบ
- แบบฝึกหัด
- ค้นคว้าข้อมูลทาง
อินเตอร์เน็ต
สื่อที่ใช้
- หนังสือ
- คอมพิวเตอร์
- โปรเจคเตอร์


บทที่ 2 วิชาชีพสอบบัญชี
พัฒนาการของวิชาชีพสอบบัญชี
- วิชาชีพสอบบัญชีในต่างประเทศ
- วิชาชีพสอบบัญชีในประเทศไทย
สถาบันทางการสอบบัญชี
- สถาบันทางการสอบบัญชีในต่างประเทศ
- สถาบันทางการสอบบัญชีในประเทศไทย
กฎหมายการบัญชีและกฎหมายการสอบบัญชี
- กฎหมายการบัญชีของประเทศไทย
- กฎหมายการสอบบัญชีของประเทศไทย
จรรยาบรรณของวิชาชีพสอบบัญชี
- จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
- กระบวนการของจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
การควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี
- ระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชี
- การควบคุมคุณภาพการตรวจสอบงบการเงิน

กิจกรรม : กิจกรรม
- บรรยาย ถาม-ตอบ
- แบบฝึกหัด
- ค้นคว้าข้อมูลทาง
อินเตอร์เน็ต
สื่อที่ใช้
- หนังสือ
- คอมพิวเตอร์
- โปรเจคเตอร์


บทที่ 3 หลักฐานการสอบบัญชีและการสอบบัญชี
หลักฐานการสอบบัญชี
- ความหมายของหลักฐานการสอบบัญชี
- ประเภทของหลักฐานการสอบบัญชี
- คุณลักษณะของหลักฐานการสอบบัญชี
- การตัดสินใจเกี่ยวกับหลักฐานการสอบบัญชี
- ความสัมพันธ์ของวัตถุประสงค์การตรวจสอบกับหลักฐานการสอบบัญชี
การตรวจสอบ
- สิ่งที่ผู้บริหารได้ให้การรับรองไว้เกี่ยวกับงบการเงิน
- วิธีการได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชี
- ประเภทของการตรวจสอบ
- หลักฐานการสอบบัญชีกับงานของผู้สอบบัญชี

กิจกรรม : กิจกรรม
- บรรยาย ถาม-ตอบ
- แบบฝึกหัด
- ค้นคว้าข้อมูลทาง
อินเตอร์เน็ต
สื่อที่ใช้
- หนังสือ
- คอมพิวเตอร์
- โปรเจคเตอร์


บทที่ 4 การวางแผนการตรวจสอบงบการเงิน
แนวคิดเกี่ยวกับการวางแผนงานสอบบัญชี
- ความหมายของการวางแผนงานสอบบัญชี
- ประโยชน์ของการวางแผนงานสอบบัญชี
- ขั้นตอนของการวางแผนงานสอบบัญชี
การวางแผนงานสอบบัญชีช่วงต้น
- การพิจารณารับงานสอบบัญชี
- การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจที่ตรวจสอบ
- การวิเคราะห์เปรียบเทียบในเบื้องต้น
- การกำหนดระดับความมีสาระสำคัญ
การสื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลและการใช้ผลงานของผู้อื่น
- การติดต่อสื่อสารกับผู้บริหารและคณะกรรมการตรวจสอบ
- การใช้ผลงานของผู้สอบบัญชีอื่น
- การใช้ผลงานของผู้ตรวจสอบภายใน
- การใช้ผลงานของผู้เชี่ยวชาญ
แผนการสอบบัญชีโดยรวม
- ความหมายของแผนการสอบบัญชีโดยรวม
- ข้อควรพิจารณาในการพัฒนาแผนกการสอบบัญชีโดยรวม
แนวการสอบบัญชี
- ความหมายของแนวการสอบบัญชี
- ประโยชน์ของแนวการสอบบัญชี
- การจัดทำแนวการสอบบัญชี
- ส่วนประกอบของแนวการสอบบัญชี

กิจกรรม : กิจกรรม
- บรรยาย ถาม-ตอบ
- แบบฝึกหัด
- ค้นคว้าข้อมูลทาง
อินเตอร์เน็ต
สื่อที่ใช้
- หนังสือ
- คอมพิวเตอร์
- โปรเจคเตอร์


บทที่ 5 ความเสี่ยงในการสอบบัญชี
ความเสี่ยงในการสอบบัญชี
- ความเสี่ยงสืบเนื่อง
- ความเสี่ยงจาการควบคุม
- ความเสี่ยงจาการตรวจสอบ
- แบบจำลองความเสี่ยงในการสอบบัญชี
การควบคุมภายใน
- ความหมายของระบบการควบคุมภายใน
- องค์ประกอบของการควบคุมภายใน
การประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ
- การทำความเข้าใจในกระบวนการควบคุมภายใน
- การประเมินความเสี่ยงจากการควบคุม
- การทดสอบการควบคุม
- รายงานจุดอ่อนของระบบการควบคุมภายใน

กิจกรรม : กิจกรรม
- บรรยาย ถาม-ตอบ
- แบบฝึกหัด
- ค้นคว้าข้อมูลทาง
อินเตอร์เน็ต
สื่อที่ใช้
- หนังสือ
- คอมพิวเตอร์
- โปรเจคเตอร์


บทที่ 6 การเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี
แนวคิดเกี่ยวกับการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี
- ความหมายของการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี
- ความเสี่ยงกับการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี
การเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี
- วิธีการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี
- บทบาทของการเลือกตัวอย่างในการทดสอบการควบคุม
- บทบาทของการเลือกตัวอย่างในการตรวจสอบเนื้อหาสาระ

กิจกรรม : กิจกรรม
- บรรยาย ถาม-ตอบ
- แบบฝึกหัด
- ค้นคว้าข้อมูลทาง
อินเตอร์เน็ต
สื่อที่ใช้
- หนังสือ
- คอมพิวเตอร์
- โปรเจคเตอร์


บทที่ 7 เอกสารหลักฐานการตรวจสอบ
การจัดทำกระดาษทำการ
- ความหมายของกระดาษทำการ
- วัตถุประสงค์ของการจัดทำกระดาษทำการ
- รูปแบบและเนื้อหาของกระดาษทำการ
- ข้อมูลที่ควรบันทึกในกระดาษทำการ
การรวบรวมและการเก็บรักษากระดาษทำการ
- แฟ้มกระดาษทำการ
- การควบคุมกระดาษทำการ
- การสอบทานกระดาษทำการ
- ระยะเวลาในการเก็บรักษากระดาษทำการ
- กรรมสิทธิ์ในกระดาษทำการ

กิจกรรม : กิจกรรม
- บรรยาย ถาม-ตอบ
- แบบฝึกหัด
- ค้นคว้าข้อมูลทาง
อินเตอร์เน็ต
สื่อที่ใช้
- หนังสือ
- คอมพิวเตอร์
- โปรเจคเตอร์


บทที่ 7 เอกสารหลักฐานการตรวจสอบ
การจัดทำกระดาษทำการ
- ความหมายของกระดาษทำการ
- วัตถุประสงค์ของการจัดทำกระดาษทำการ
- รูปแบบและเนื้อหาของกระดาษทำการ
- ข้อมูลที่ควรบันทึกในกระดาษทำการ
การรวบรวมและการเก็บรักษากระดาษทำการ
- แฟ้มกระดาษทำการ
- การควบคุมกระดาษทำการ
- การสอบทานกระดาษทำการ
- ระยะเวลาในการเก็บรักษากระดาษทำการ
- กรรมสิทธิ์ในกระดาษทำการ

กิจกรรม : กิจกรรม
- บรรยาย ถาม-ตอบ
- แบบฝึกหัด
- ค้นคว้าข้อมูลทาง
อินเตอร์เน็ต
สื่อที่ใช้
- หนังสือ
- คอมพิวเตอร์
- โปรเจคเตอร์


สอบกลางภาค บทที่ 1 – 7
กิจกรรม :

บทที่ 8 การตรวจสอบวงจรรายได้และวงจรค่าใช้จ่าย
วงจรรายการค้า
- ความหมายและประเภทของวงจรรายการค้า
- ความสัมพันธ์ของวงจรรายการค้า
แนวคิดของวงจรรายได้
- ลักษณะของวงจรรายได้
- วัตถุประสงค์ของการตรวยสอบวงจรรายได้
- ความเสี่ยงของวงจรรายได้
การควบคุมภายในของวงจรรายได้
- สภาพแวดล้อมการควบคุม
- การประเมินความเสี่ยง
- สารสนเทศและการสื่อสาร
- การติดตามและการประเมินผล
- กิจกรรมควบคุม
การตรวจสอบวงจรรายจ่าย
- การทดสอบการควบคุมของวงจรรายจ่าย
- การตรวจสอบเนื้อหาสาระของวงจรรายจ่าย

กิจกรรม : กิจกรรม
- บรรยาย ถาม-ตอบ
- แบบฝึกหัด
- ค้นคว้าข้อมูลทาง
อินเตอร์เน็ต
สื่อที่ใช้
- หนังสือ
- คอมพิวเตอร์
- โปรเจคเตอร์


บทที่ 9 การตรวจสอบวงจรอื่น
วงจรการผลิต
- ลักษณะของวงจรการผลิต
- วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบวงจรการผลิต
- การควบคุมภายในวงจรการผลิต
การตรวจสอบวงจรการผลิต
- การทดสอบการควบคุมของวงจรการผลิต
- การตรวจสอบเนื้อหาสาระของวงจรการผลิต
วงจรค่าจ้างแรงงาน
- ลักษณะของวงจรค่าจ้างแรงงาน
- วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบค่าจ้างแรงงาน
- การควบคุมภายในวงจรค่าจ้างแรงงาน
การตรวจสอบวงจรค่าจ้างแรงงาน
- การทดสอบการควบคุมของวงจรค่าจ้างแรงงาน
- การตรวจสอบเนื้อหาสาระค่าจ้างแรงงาน
วงจรการจัดหาเงิน
- ลักษณะของวงจรการจัดหาเงิน
- วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบวงจรการจัดหาเงิน
- การควบคุมภายในวงจรการจัดหาเงิน
วงจรการลงทุนในหลักทรัพย์
- ลักษณะของวงจรการลงทุนในหลักทรัพย์
- วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบวงจรการลงทุนในหลักทรัพย์
- การควบคุมภายในของวงจรการลงทุนในหลักทรัพย์
- การตรวจสอบเนื้อหาสาระของวงจรการลงทุนในหลักทรัพย์

กิจกรรม : กิจกรรม
- บรรยาย ถาม-ตอบ
- แบบฝึกหัด
- ค้นคว้าข้อมูลทาง
อินเตอร์เน็ต
สื่อที่ใช้
- หนังสือ
- คอมพิวเตอร์
- โปรเจคเตอร์


บทที่ 10 การตรวจสอบที่สำคัญและการเสร็จสิ้นงานสอบบัญชี
การตรวจสอบ
- การตรวจสอบยอดยกมาในการสอบบัญชีครั้งแรก
- การตรวจสอบข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
- การตรวจสอบข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน
- การตรวจสอบประมาณการทางบัญชี
- การตรวจสอบกิจการที่มีปัญหาการดำเนินงานต่อเนื่อง
- การตรวจสอบเหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงิน
- การตรวจสอบหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น
- การตรวจสอบภาระผูกพัน
- คำรับรองผู้บริหาร
การปฏิบัติงานในช่วงการเสร็จสิ้นงานตรวจสอบ
- การประเมินผลจากหลักฐานการสอบบัญชี
- การเสนอรายการปรับปรุงและรายการจัดประเภทบัญชีใหม่
- การรายงานผู้สอบบัญชี

กิจกรรม : กิจกรรม
- บรรยาย ถาม-ตอบ
- แบบฝึกหัด
- ค้นคว้าข้อมูลทาง
อินเตอร์เน็ต
สื่อที่ใช้
- หนังสือ
- คอมพิวเตอร์
- โปรเจคเตอร์


บทที่ 11 รายงานของผู้สอบบัญชีต่องบการเงิน
รายงานของผู้สอบบัญชี
- ความหมายของรายงานของผู้สอบบัญชี
- ประเภทของรายงานของผู้สอบบัญชี
- ประเภทของความเห็นของผู้สอบบัญชี
- สถานการณ์ที่กระทบและไม่กระทบต่อความเห็นของผู้สอบบัญชี
- ความมีสาระสำคัญกับความเห็นของผู้สอบบัญชี
- รายงานของผู้สอบบัญชีแบบมาตรฐาน
หลักการเขียนรายงานของผู้สอบบัญชี
- ความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไข
- ความเห็นอย่างมีเงื่อนไข
- ความเห็นว่างบการเงินไม่ถูกต้อง
- การไม่แสดงความเห็น
รายงานของผู้สอบบัญชีต่อข้อมูลเปรียบเทียบ
- ความหมายของข้อมูลเปรียบเทียบ
- ประเภทของข้อมูลเปรียบเทียบ
- รายงานของผู้สอบบัญชีต่อตัวเลขเปรียบเทียบ
ข้อมูลอื่นในเอกสารที่รวมงบการเงิน
- ความหมายของข้อมูลอื่นและเอกสารที่รวมงบการเงิน
- ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับข้อมูลอื่น

กิจกรรม : กิจกรรม
- บรรยาย ถาม-ตอบ
- แบบฝึกหัด
- ค้นคว้าข้อมูลทาง
อินเตอร์เน็ต
สื่อที่ใช้
- หนังสือ
- คอมพิวเตอร์
- โปรเจคเตอร์


บทที่ 12 บริการอื่นของผู้สอบบัญชี
- บริการอื่นของผู้สอบบัญชีอื่น
- ข้อแตกต่างของการสอบบัญชีกับบริการอื่น
- การสอบทาน
- การปฏิบัติงานตามวิธีการที่ตกลงร่วมกัน
- การรวบรวมข้อมูล
- การตรวจสอบงบการเงินเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
- การตรวจสอบข้อมูลทางการเงินที่เกี่ยวกับอนาคต

กิจกรรม : กิจกรรม
- บรรยาย ถาม-ตอบ
- แบบฝึกหัด
- ค้นคว้าข้อมูลทาง
อินเตอร์เน็ต
สื่อที่ใช้
- หนังสือ
- คอมพิวเตอร์
- โปรเจคเตอร์


บทที่ 13 การสอบบัญชีภาษีอากร
แนวคิดเกี่ยวกับผู้สอบบัญชีภาษีอากร
- ความเป็นมาของผู้สอบบัญชีภาษีอากร
- บทบาทหน้าที่ของผู้สอบบัญชีภาษีอากร
- คุณสมบัติและใบอนุญาตของผู้สอบบัญชีภาษีอากร
- จรรยาบรรณของผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี
การปฏิบัติงานสอบบัญชีภาษีอากร
- หลักการและเป้าหมายของการสอบบัญชีภาษีอากร
- มาตรฐานแห่งวิชาชีพและข้อกำหนดของอธิบดีกรมสรรพากร
- หน้าที่และความรับผิดชอบในฐานะผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี
- ความต้องการและความคาดหวังของผู้เสียภาษี
รายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี
- วัตถุประสงค์ของรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี
- ขอบเขตการใช้รายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี
- แบบของรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี
- การทดสอบรายการของผู้สอบบัญชีภาษีอากรในแบบแจ้งข้อความของผู้เป็นหุ้นส่วน
- การพัฒนาผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี

กิจกรรม : กิจกรรม
- บรรยาย ถาม-ตอบ
- แบบฝึกหัด
- ค้นคว้าข้อมูลทาง
อินเตอร์เน็ต
สื่อที่ใช้
- หนังสือ
- คอมพิวเตอร์
- โปรเจคเตอร์


ทบทวน
กิจกรรม :

สอบปลายภาค บทที่ 5 – 9
กิจกรรม :

อาจารย์ผู้สอน