รายละเอียด

การพิมพ์สกรีน / Screen Printing

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : BTEPP109
  • ชื่อรายวิชา(TH) : การพิมพ์สกรีน
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Screen Printing
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

รายวิชาการพิมพ์สกรีน สำหรับนักศึกษาหลักสูตรเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ ชั้นปีที่ 2

รายวิชา - การพิมพ์สกรีน

หน่วยที่ 1 ระบบและหลักการการพิมพ์สกรีน
1.1 ประวัติและความสำคัญของการพิมพ์สกรีน
1.1.1 ประวัติศาสตร์การพิมพ์สกรีน
1.1.2 วิวัฒนาการการพิมพ์สกรีน
1.2 หลักการพิมพ์สกรีน
1.2.1 หลักการการพิมพ์สกรีน
1.2.2 ประเภทสิ่งพิมพ์ระบบการพิมพ์สกรีน
กิจกรรม : - แนะนำผู้สอน และรายละเอียดในวิชา ผ่านโปรแกรม MS.team
-บรรยายออนไลน์ ผ่าน MS.Team
ใบงานปฏิบัติ ครั้งที่ 1 ให้นักศึกษาหลักการพิมพ์สกรีน โดยเทคนิคการทำ stencil ด้วยตนเอง

หน่วยที่ 2 การทำกรอบแม่พิมพ์สกรีน
2.1 วัสดุทำกรอบแม่พิมพ์
2.1.1 ลักษณะของผ้าสกรีน
2.1.2 ประเภทของผ้าสกรีน
2.2 กรอบสกรีน
2.2.1 ประเภทกรอบสกรีน
2.2.2 รูปร่างของกรอบสกรีน
2.2.3 การเตรียมผิวและทำความสะอาดกรอบสกรีน

กิจกรรม : ใบงานปฏิบัติ ครั้งที่ 2 1. ฝึกปฏิบัติการเตรียมผิวกรอบสกรีนสำหรับงานพิมพ์
2. จัดส่งภาพประกอบการฝึก 3. บันทึกภาพวิดีโอเป็นคลิปสั้น 4. ส่งไฟล์งาน ผ่าน Google Classroom

2.3 วิธีการขึงผ้าสกรีน
2.3.1 การขึงผ้าสกรีนด้วยมือ
2.3.2 การขึงผ้าสกรีนด้วยเครื่อง
2.4 การตรวจสอบคุณภาพแม่พิมพ์
2.4.1 อุปกรณ์ตรวจสอบคุณภาพแม่พิมพ์
2.4.2 วิธีการตรวจสอบคุณภาพแม่พิมพ์

กิจกรรม : ใบงานปฏิบัติ ครั้งที่ 3 1. ฝึกปฏิบัติการตรวจสอบคุณภาพแม่พิมพ์สกรีน 2. จัดส่งภาพประกอบการฝึก 3. บันทึกภาพวิดีโอเป็นคลิปสั้น 4. ส่งไฟล์งาน ผ่าน Google Classroom

2.5 เทคโนโลยีการผลิตน้ำหนักสีภาพ
2.5.1 ความรู้เกี่ยวกับการผลิตน้ำหนักสีภาพ
2.5.2 หลักการของผลิตน้ำหนักสีภาพ
2.5.3 ลักษณะภาพฮาล์ฟโทน
2.6 กระบวนการผลิตน้ำหนักสีภาพ
2.6.1 กระบวนการผลิตน้ำหนักสีของภาพลายเส้น
2.6.2 กระบวนการผลิตน้ำหนักสีของภาพฮาล์ฟโทน

กิจกรรม : ใบงานปฏิบัติ ครั้งที่ 4 1. ฝึกปฏิบัติการผลิตน้ำหนักสีภาพพิมพ์ 2. จัดส่งภาพประกอบการฝึก 3. บันทึกภาพวิดีโอเป็นคลิปสั้น 4. ส่งไฟล์งาน ผ่าน Google Classroom

หน่วยที่ 3 กระบวนการสร้างแม่พิมพ์สกรีน
3.1 การสร้าแม่พิมพ์สกรีนชนิดไม่ฉายแสง
3.1.1 ฟิล์มกรีดตัดชนิดที่ใช้น้ำติด
3.1.2 ฟิล์มกรีดตัดชนิดใช้ทินเนอร์ติด
3.1.3 ฟิล์มกรีดตัดที่ติดด้วยน้ำมัน

กิจกรรม : ใบงานปฏิบัติ ครั้งที่ 5 1. ฝึกปฏิบัติการทำแม่พิมพ์สกรีนชนิดไม่ฉายแสง 2. จัดส่งภาพประกอบการฝึก 3. บันทึกภาพวิดีโอเป็นคลิปสั้น 4. ส่งไฟล์งาน ผ่าน Google Classroom

3.2 การสร้างแม่พิมพ์สกรีนชนิดฉายแสง
3.2.1 วัสดุสำหรับทำต้นแบบ
3.2.2 ตัวรับต้นแบบประเภทของกาวอัด
3.2.3 อุปกรณ์ในการเคลือบกาวอัด

กิจกรรม : ใบงานปฏิบัติ ครั้งที่ 6 1. ฝึกปฏิบัติการเคลือบกาวอัด
- การหาระยะเวลาในการฉายแสงของแม่พิมพ์สกรีนแบบใช้กาวอัด
2. จัดส่งภาพประกอบการฝึก 3. บันทึกภาพวิดีโอเป็นคลิปสั้น 4. ส่งไฟล์งาน ผ่าน Google Classroom

3.3 การสร้างแม่พิมพ์สกรีนด้วยฟิล์ม
3.3.1 ลักษณะแบบฟิล์มถ่าย
3.3.2 การสร้างแม่พิมพ์สกรีนแบบใช้ฟิล์มถ่ายก่อนติด
3.3.3 การสร้างแม่พิมพ์สกรีนด้วยฟิล์มหนา

กิจกรรม : ใบงานปฏิบัติ ครั้งที่ 7 1. ฝึกปฏิบัติการใช้สร้างแม่พิมพ์สกรีนด้วยฟิล์ม 2. จัดส่งภาพประกอบการฝึก 3. บันทึกภาพวิดีโอเป็นคลิปสั้น 4. ส่งไฟล์งาน ผ่าน Google Classroom

3.4 การออกแบบลวดลายสำหรับฟิล์มต้นฉบับ
3.4.1 ความสำคัญของการออกแบบลวดลาย
3.4.2 แนวความคิดของการออกแบบ
3.4.3 การจัดองค์ประกอบสำหรับงานพิมพ์สกรีน

กิจกรรม : ใบงานปฏิบัติ ครั้งที่ 8 1. ฝึกปฏิบัติการออกแบบลวดลายต้นฉบับสำหรับงานพิมพ์สกรีน 2. จัดส่งภาพประกอบการฝึก 3. บันทึกภาพวิดีโอเป็นคลิปสั้น 4. ส่งไฟล์งาน ผ่าน Google Classroom

สอบกลางภาค
กิจกรรม : ทดสอบภาคปฏิบัติ

หน่วยที่ 4 วัสดุอุปกรณ์และกระบวนการพิมพ์สกรีน
4.1 หมึกพิมพ์สกรีน
4.1.1 หมึกพิมพ์สกรีนฐานน้ำ
4.1.2 หมึกพิมพ์สกรีนฐานน้ำมัน
4.1.3 หมึกพิมพ์พลาสติซอล
4.1.4 หมึกพิมพ์สกรีนยูวี
4.1.6 คุณสมบัติของหมึกพิมพ์สกรีน
4.2 ยางปาด
4.2.1 หน้าที่ของยางปาด
4.2.2 โครงสร้างของยางปาด
4.2.3 การเลือกใช้ยางปาด
4.2.4 การบำรุงรักษายางปาด

กิจกรรม : ใบงานปฏิบัติ ครั้งที่ 9 1. ฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์คุณสมบัติทางกายภาพวัสดุ
- ทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพวัสดุหมึกพิมพ์สกรีนฐานน้ำ
2. จัดส่งภาพประกอบการฝึก 3. บันทึกภาพวิดีโอเป็นคลิปสั้น 4. ส่งไฟล์งาน ผ่าน Google Classroom

4.3 กระบวนการพิมพ์สกรีน
4.3.1 การพิมพ์สกรีนด้วยมือ
4.3.2 การพิมพ์สกรีนด้วยเครื่องกึ่งอัตโนมัติ
4.3.3 การพิมพ์สกรีนด้วยเครื่องแบบอัตโนมัติ

กิจกรรม : ใบงานปฏิบัติ ครั้งที่ 10 1. ฝึกปฏิบัติกระบวนการพิมพ์สกรีน - การผลิตสิ่งพิมพ์สกรีนด้วยมือ
2. จัดส่งภาพประกอบการฝึก 3. บันทึกภาพวิดีโอเป็นคลิปสั้น 4. ส่งไฟล์งาน ผ่าน Google Classroom

หน่วยที่ 5 การผลิตสื่อต่างๆ ด้วยงานพิมพ์สกรีน
5.1 การพิมพ์วัสดุประเภทผ้า
5.1.1 คุณสมบัติพื้นฐานวัสดุประเภทผ้า
5.1.2 การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการพิมพ์วัสดุประเภทผ้า
5.1.3 กระบวนการพิมพ์วัสดุพิมพ์ประเภทผ้า

กิจกรรม : ใบงานปฏิบัติ ครั้งที่ 11 1. ฝึกปฏิบัติการพิมพ์สกรีนบนวัสดุพิมพ์ประเภทผ้า 2. จัดส่งภาพประกอบการฝึก 3. บันทึกภาพวิดีโอเป็นคลิปสั้น 4. ส่งไฟล์งาน ผ่าน Google Classroom

5.2 การพิมพ์วัสดุประเภทกระดาษ
5.2.1 คุณสมบัติพื้นฐานวัสดุประเภทกระดาษ
5.2.2 การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการพิมพ์วัสดุประเภทกระดาษ
5.2.3 กระบวนการพิมพ์วัสดุพิมพ์ประเภทกระดาษ

กิจกรรม : ใบงานปฏิบัติ ครั้งที่ 12 1. ฝึกปฏิบัติการพิมพ์สกรีนบนวัสดุพิมพ์ประเภทกระดาษ 2. จัดส่งภาพประกอบการฝึก 3. บันทึกภาพวิดีโอเป็นคลิปสั้น 4. ส่งไฟล์งาน ผ่าน Google Classroom

5.3 การพิมพ์วัสดุประเภทรูปทรงแก้ว
5.3.1 คุณสมบัติพื้นฐานวัสดุประเภทแก้ว
5.3.2 การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการพิมพ์วัสดุประเภทแก้ว
5.3.3 กระบวนการพิมพ์วัสดุพิมพ์ประเภทแก้ว

กิจกรรม : ใบงานปฏิบัติ ครั้งที่ 13 1. ฝึกปฏิบัติการพิมพ์สกรีนบนวัสดุพิมพ์ประเภทแก้ว 2. จัดส่งภาพประกอบการฝึก 3. บันทึกภาพวิดีโอเป็นคลิปสั้น 4. ส่งไฟล์งาน ผ่าน Google Classroom

5.4 เทคโนโลยีการพิมพ์สกรีน
5.4.1 ความหมายเทคโนโลยีการพิมพ์แบบไฮบริด
5.4.2 ระบบพิมพ์แบบไฮบริด
5.4.3 ความสัมพันธ์ระหว่างวัสดุพิมพ์กับระบบพิมพ์
5.4.3 หมึกพิมพ์แบบไฮบริด

กิจกรรม : ใบงานปฏิบัติ ครั้งที่ 14 1. ฝึกปฏิบัติการบูรณาการระบบการพิมพ์กับกระบวนการพิมพ์อื่นๆ 2. จัดส่งภาพประกอบการฝึก 3. บันทึกภาพวิดีโอเป็นคลิปสั้น 4. ส่งไฟล์งาน ผ่าน Google Classroom

หน่วยที่ 6 การควบคุมคุณภาพและมาตรฐานการพิมพ์สกรีน
6.1 ความหมายและความสำคัญการควบคุมคุณภาพ
6.1.1 ความหมายการควบคุมคุณภาพงานพิมพ์
6.1.2 ความสำคัญการควบคุมคุณภาพงานพิมพ์
6.2 มาตรฐานการพิมพ์สกรีน
6.2.1 ความหมายมาตรฐานการพิมพ์สกรีน
6.2.2 เครื่องมือวัดคุณภาพงานพิมพ์
6.2.3 หลักการตรวจสอบคุณภาพงานพิมพ์สกรีน

กิจกรรม : ใบงานปฏิบัติ ครั้งที่ 15 1. ฝึกปฏิบัติการตรวจสอบคุณภาพงานพิมพ์ตามมาตรฐานการพิมพ์สกรีน 2. จัดส่งภาพประกอบการฝึก 3. บันทึกภาพวิดีโอเป็นคลิปสั้น 4. ส่งไฟล์งาน ผ่าน Google Classroom

ทบทวน
กิจกรรม :

อาจารย์ผู้สอน