รายละเอียด

การออกแบบทางเมคคาทรอนิกส์ / Mechatronics Design

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : ENGMC116
  • ชื่อรายวิชา(TH) : การออกแบบทางเมคคาทรอนิกส์
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Mechatronics Design
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

เทสๆ

รายวิชา - การออกแบบทางเมคคาทรอนิกส์

การทบทวนเรื่องความแข็งแรงของวัสดุ
1 ความแข็งแรงต่อแรงดึง (Tensile Strength)
2 ความแข็งแรงต่อแรงเฉือน (Shear Strength)
3 ความแข็งแรงต่อแรงดัด (Bending Strength)
4 ความแข็งแรงต่อแรงกด (Bearing Strength)
5 ความแข็งแรงต่อแรงบิด (Torsion Strength)
6 ความแข็งแรงต่อแรงอัด (Compressive Strength)
7 ความแข็งแรงต่อแรงกระทบกระแทก (Impact Strength)

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม

การออกแบบชิ้นส่วนที่รับแรงในแนวแกนและเพลา
1 ชนิดของเพลา
2 ภาระที่มากระทําบนเพลา
3 วัสดุทําเพลา
4 การออกแบบเพลา

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม

การออกแบบชิ้นส่วนที่รับแรงในแนวแกนและเพลา(ต่อ)
1 ชนิดของเพลา
2 ภาระที่มากระทําบนเพลา
3 วัสดุทําเพลา
4 การออกแบบเพลา
กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม

กลไกและการทำงานของกลไก
1 องค์ประกอบของระบบกลไก
2 ส่วนประกอบของกลไก
3 หลักการทำงานของกลไก
4 การเคลื่องที่
5 ระบบชิ้นต่อโยง
6 กลไกเครื่องที่ในระนาบ
7 การหาลำดับขั้นความเป็นอิสระของกลไก
8 แผนผังจลนศาสตร์
9 การผกผัน
10 เงื่อนไขของ Grashof

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม

กลไกและการทำงานของกลไก(ต่อ)
1 องค์ประกอบของระบบกลไก
2 ส่วนประกอบของกลไก
3 หลักการทำงานของกลไก
4 การเคลื่องที่
5 ระบบชิ้นต่อโยง
6 กลไกเครื่องที่ในระนาบ
7 การหาลำดับขั้นความเป็นอิสระของกลไก
8 แผนผังจลนศาสตร์
9 การผกผัน
10 เงื่อนไขของ Grashof
กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม

การออกแบบระบบควบคุมทางไฟฟ้าและแบบลมอัด
1 ชนิดของการควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า
2 อุปกรณ์ที่ใช้ในวงจรควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า
3 ประเภทและหลักการทํางานของเครื่องอัดอากาศ
4 คุณลักษณะและสมรรถนะการทำงานของเครื่องอัดอากาศ
5 การควบคุมการทำงานของระบบอากาศอัด
6 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานในระบบอากาศอัด

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม

การออกแบบกลไกร่วมกับระบบควบคุมแบบปิด/เปิด
1 อุปกรณ์ไฟฟ้าในระบบนิวแมติกส์ไฟฟ้า
2 วาล์วในระบบนิวแมติกส์ไฟฟ้าหรือโซลีนอยด์วาล์ว (Solenoid valve)

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม

สอบกลางภาคเรียน
กิจกรรม : สอบข้อเขียน

การออกแบบคาน
1 ประเภทของคาน
2 ชนิดของแรงดึงหรือน้ำหนักบรรทุกบนคาน
3 การคิดเครื่องหมาย
4 การออกแบบคานตรงและคานโคง

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม

การออกแบบการเลือกใช้ตลับลูกปืน
1 ลูกปืนหรือเรียกว่ารองเพลา(Bearing)
2 Sliding Bearing
3 Rolling Contact Bearing
4 ความเสียดทานของ Rolling Bearing
5 การระบุชนิดของ Bearing
6 การประกอบ Bearing เข้ากับเครื่องจักร
7 การกำหนดงานสวมระหว่าง Bearing กับเพลา และ Housing
8 ความสามารถในการรับแรงกระทำ และอายุการใช้งานของ Bearing

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม

การออกแบบการเลือกใช้ตลับลูกปืน(ต่อ)
1 ลูกปืนหรือเรียกว่ารองเพลา(Bearing)
2 Sliding Bearing
3 Rolling Contact Bearing
4 ความเสียดทานของ Rolling Bearing
5 การระบุชนิดของ Bearing
6 การประกอบ Bearing เข้ากับเครื่องจักร
7 การกำหนดงานสวมระหว่าง Bearing กับเพลา และ Housing
8 ความสามารถในการรับแรงกระทำ และอายุการใช้งานของ Bearing

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม

การออกแบบสปริง
1 Spring rate
2 ความเค้นในสปริง
3 การยืดหดของสปริงขด
4 การออกแบบสปริงเพื่อนําไปใช้งาน

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม

การออกแบบรอก
1 ประเภทของรอก
2 การร้อยขบวนรอก
3 การได้เปรียบเชิงกล หรือกำลังทดของขบวนรอก
4 แรงเสียดสี
5 การใช้รอกโซ่อย่างปลอดภัย
6 การบำรุงรักษารอกโซ่

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม

ลิ่มสลักคัปปลิ้ง
1 ลิ่มและสลัก
2 สสปลายน์
3 คับปลิ้ง
กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม

การออกแบบกลไกร่วมกับระบบควบคุมแบบป้อนกลับ
1 ออกแบบกลไกการเคลื่อนที่แบบต่าง
2 เลือกใช้ระบบควบคุมแบบป้อนกลับ

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม

การออกแบบกลไกร่วมกับระบบควบคุมแบบป้อนกลับ(ต่อ)
1 ออกแบบกลไกการเคลื่อนที่แบบต่าง
2 เลือกใช้ระบบควบคุมแบบป้อนกลับ

กิจกรรม : บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ผู้สอนให้ทำกิจกรรมระหว่างเรียนที่เหมาะสม เช่น-ผู้สอนมอบหมายแบบฝึกหัดทำเป็นกลุ่ม(กลุ่มละ1ข้อ)พร้อมส่งตัวแทนอธิบายหน้าชั้นเรียน - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม

สอบปลายภาคเรียน
กิจกรรม : สอบข้อเขียน

อาจารย์ผู้สอน