รายละเอียด

การฝึกทักษะพื้นฐานทางวิศวกรรม 1 / Basic Engineering Skill Training 1

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 2 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : ENGAG109
  • ชื่อรายวิชา(TH) : การฝึกทักษะพื้นฐานทางวิศวกรรม 1
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Basic Engineering Skill Training 1
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

อาจารย์ผู้สอน

1.อาจารย์ทวีศักดิ์ มหาวรรณ์ โทร.098-3547491

2.อาจารย์เฉลิม ยาวิลาศ โทร. 089-6365401

รายวิชา - การฝึกทักษะพื้นฐานทางวิศวกรรม 1

ปฐมนิเทศ
1. ความจำเป็นที่ต้องเรียนการฝึกทักษะพื้นฐานทางวิศวกรรม 1
2. ขอบข่ายของเนื้อหาการฝึกทักษะพื้นฐานทางวิศวกรรม 1
3. แนวทางในการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การฝึกทักษะพื้นฐานทางวิศวกรรม 1
บทที่ 1 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
1.1 นิยามศัพท์ด้านความปลอดภัย
1.2 ประเภทของอุบัติเหตุ
1.3 สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุในการปฏิบัติงาน
1.4 หลักในการปฏิบัติงานให้เกิดความปลอดภัย

กิจกรรม : 1. ผู้สอนนำอภิปรายถึงความจำเป็นขอบข่ายของสาระการเรียนรู้วิชาในการเรียนการฝึกทักษะพื้นฐานทางวิศวกรรม 1
2. ผู้สอนอธิบายคำอธิบายรายวิชา
วิธีการวัดผลและการประเมินการเรียนรู้
3. ผู้สอนบรรยาย ถาม – ตอบ เกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
4. ผู้สอนมอบหมายงานให้นักศึกษาปฏิบัติตามใบงาน

บทที่ 2 เครื่องมือทั่วไปในงานช่างอุตสาหกรรม
2.1 ปากกาจับงาน
2.2 ค้อน
2.3 ประแจ
2.4 คีม
2.5 ไขควง
2.6 การบำรุงรักษาเครื่องมือทั่วไป

กิจกรรม : 1. ผู้สอนบรรยาย ถาม – ตอบ เกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องมือทั่วไปในงานช่างอุตสาหกรรม
2. ผู้สอนมอบหมายงานให้นักศึกษาปฏิบัติตามใบงาน

บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานเครื่องมือวัดและการตรวจสอบ
3.1 ความหมายของเครื่องมือวัด และการวัดขนาด
3.2 มาตรฐานการวัดความยาว
3.3 การใช้เครื่องมือวัดและการตรวจสอบ
3.3.1 บรรทัดเหล็ก
3.3.2 ใบวัดมุม

กิจกรรม : 1. ผู้สอนบรรยายถาม – ตอบ เกี่ยวกับ- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานเครื่องมือวัด
2. ผู้สอนสาธิตวิธีการใช้งานเครื่องมือวัด
3. ผู้สอนมอบหมายงานให้นักศึกษาปฏิบัติตามใบงาน

บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานเครื่องมือวัดและการตรวจสอบ (ต่อ)
3.1 การใช้เครื่องมือวัดและการตรวจสอบ
3.3.1 เวอร์เนียร์คาลิเปอร์
3.3.2 ไมโครมิเตอร์

กิจกรรม : 1. ผู้สอนบรรยายถาม – ตอบ เกี่ยวกับ- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานเครื่องมือวัด
2. ผู้สอนสาธิตวิธีการใช้งานเครื่องมือวัด
3. ผู้สอนมอบหมายงานให้นักศึกษาปฏิบัติตามใบงาน

บทที่ 4 งานร่างแบบ
1.1 ทฤษฎี และความหมายของการร่างแบบ
1.2 วัตถุประสงค์
1.3 เครื่องมือและอุปกรณ์ร่างแบบ
1.4 ขั้นตอนการร่างแบบ
1.5 การปฏิบัติงานร่างแบบ
กิจกรรม : 1. ผู้สอนบรรยาย ถาม – ตอบ เกี่ยวกับการร่างแบบ
2. ผู้สอนสาธิตวิธีการตามใบงาน
3. ผู้สอนมอบหมายงานให้นักศึกษาปฏิบัติการตามใบงาน

บทที่ 5 งานลดขนาดด้วยตะไบ
1.1 ความหมายงานลดขนาดด้วยตะไบ
1.2 ส่วนประกอบ ชนิด และการใช้งาน
1.3 การปฏิบัติงานตะไบ
กิจกรรม : 1. ผู้สอนบรรยายถาม - ตอบเกี่ยวกับการ ลดขนาดด้วยตะไบ
2. ผู้สอนบรรยายเกี่ยวกับขั้นตอนการลดขนาดด้วยตะไบ
3. ผู้สอนสาธิตการปฏิบัติงาน การลดขนาดด้วยตะไบ

บทที่ 6 งานเลื่อย
1.1 ทฤษฎีงานเลื่อย
1.2 เลื่อยมือ
1.3 การปฏิบัติงานเลื่อย
กิจกรรม : 1. ผู้สอนบรรยาย ถาม – ตอบ เรื่องทักษะงานเลื่อย

2. ผู้สอนทำการสาธิต ปฏิบัติงานทักษะงานเลื่อย

บทที่ 7 งานสกัด
1.1 ทฤษฎีงานสกัด
1.2 ชนิด และคมตัดของสกัด
1.3 การปฏิบัติงานสกัด
กิจกรรม : 1.ผู้สอนบรรยายถาม – ตอบ
เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานสกัด
2. ผู้สอนทำการสาธิตวิธีการใช้งานสกัด
3. ผู้สอนมอบหมายงานให้นักศึกษาปฏิบัติงานสกัดตามใบงาน ที่กำหนด

สอบกลางภาค
กิจกรรม :

บทที่ 8 งานเจาะ
1.1 ทฤษฎี และความหมายงานเจาะ
1.2 ชนิด หน้าที่ และส่วนประกอบของเครื่องเจาะ
1.3 ความเร็วในงานเจาะ
1.4 ขั้นตอนการเจาะรู
1.5 การบำรุงรักษาเครื่องเจาะ
กิจกรรม : 1. ผู้สอนบรรยาย ถาม – ตอบเกี่ยวกับงานเจาะ
2. ผู้สอนสาธิตขั้นตอนการใช้งานการเจาะรูด้วยเครื่องเจาะ
3. ผู้สอนมอบหมายงานให้นักศึกษาปฏิบัติตามใบงานที่กำหนด

บทที่ 9 งานทำเกลียว
1.1 ทฤษฎี และความหมายงานทำเกลียว
1.2 ส่วนประกอบ ชนิด และประเภทของเกลียว
1.3 การทำเกลียวนอก และเกลียวใน

กิจกรรม : 1. ผู้สอนบรรยายถาม – ตอบเกี่ยวกับงานทำเกลียว
2. ผู้สอนสาธิตวิธีการทำเกลียว
3. ผู้สอนมอบหมายงานให้นักศึกษาปฏิบัติตามใบงานที่กำหนด

บทที่ 10 งานเครื่องกลเบื้องต้น
1.1 ทฤษฎี และความหมายงานกลึง
1.2 เครื่องกลึงยันศูนย์เบื้องต้น
1.3 เครื่องมือ และอุปกรณ์งานกลึง
1.4 ทฤษฎีความเร็วรอบ ความเร็วตัด อัตราป้อนงานกลึง
1.5 ความปลอดภัย และการบำรุงรักษาเครื่องกลึง

กิจกรรม : 1. ผู้สอนบรรยายถาม – ตอบเกี่ยวกับชนิด หน้าที่ และหลักการทำงาน งานกลึง
2. ผู้สอนสาธิตวิธีการใช้งานกลึง
3. ผู้สอนมอบหมายงานให้นักศึกษาปฏิบัติตามใบงานที่กำหนด

บทที่ 10 งานเครื่องกลเบื้องต้น (ต่อ)
1.6 เครื่องกัดเบื้องต้น
1.7 เครื่องมือ และอุปกรณ์งานกัด
1.8 ทฤษฎีความเร็วรอบ ความเร็วตัด อัตราป้อนงานกัด
1.9 ความปลอดภัย และการบำรุงรักษาเครื่องกัด

กิจกรรม : 1. ผู้สอนบรรยายถาม – ตอบเกี่ยวกับชนิด หน้าที่ และหลักการทำงาน งานกัด
2. ผู้สอนสาธิตวิธีการใช้งานกัด
3. ผู้สอนมอบหมายงานให้นักศึกษาปฏิบัติตามใบงานที่กำหนด

บทที่ 11 งานลับคมตัด
1.1 ทฤษฎี และการใช้งานเครื่องเจียรนัยตั้งพื้น
1.2 เครื่องมือวัดและการตรวจสอบคมตัด
1.3 การลับมีดกลึงปอกขวา
1.4 การลับมีดกลึงปาดหน้า

กิจกรรม : 1. ผู้สอนบรรยายเกี่ยวกับชนิด หน้าที่ และหลักการใช้งานเครื่องเจียรนัยตั้งพื้น
2. ผู้สอนสาธิตการใช้เครื่องมือวัดและการตรวจสอบคมตัด
3. ผู้สอนสาธิตการลับมีดกลึงปอกขวา - มีดกลึงปาดหน้า
4. ผู้สอนมอบหมายงานให้นักศึกษาปฏิบัติตามใบงานที่กำหนด

บทที่ 11 งานลับคมตัด (ต่อ)
1.1 การลับดอกสว่าน
1.2 การลับสกัด

กิจกรรม : 1. ผู้สอนบรรยายเกี่ยวกับชนิด หน้าที่ และหลักการใช้งานเครื่องเจียรนัยตั้งพื้น
2. ผู้สอนสาธิตการใช้เครื่องมือวัดและการตรวจสอบคมตัด
3. ผู้สอนสาธิตการลับดอกสว่าน
4. ผู้สอนสาธิตการลับสกัด
5. ผู้สอนมอบหมายงานให้นักศึกษาปฏิบัติตามใบงานที่กำหนด

บทที่ 12 งานประกอบ
1.1 ความหมาของงานประกอบ
1.2 พื้นฐานของงานประกอบ
1.3 ชนิดของงานประกอบ
กิจกรรม : 1. ผู้สอนบรรยายเกี่ยวกับงานประกอบ
2. ผู้สอนสาธิตการประกอบชิ้นงาน
3. ผู้สอนมอบหมายงานให้นักศึกษาปฏิบัติตามใบงานที่กำหนด

บทที่ 12 งานประกอบ
1.1 ความหมาของงานประกอบ
1.2 พื้นฐานของงานประกอบ
1.3 ชนิดของงานประกอบ
กิจกรรม : 1. ผู้สอนบรรยายเกี่ยวกับงานประกอบ
2. ผู้สอนสาธิตการประกอบชิ้นงาน
3. ผู้สอนมอบหมายงานให้นักศึกษาปฏิบัติตามใบงานที่กำหนด

อาจารย์ผู้สอน