รายละเอียด

ทฤษฎีฟัซซีเซต / Fuzzy Set Theory

  • 17 สัปดาห์
  • จำนวนนักศึกษา 0 คน
  • อาจารย์ผู้สอน 1 คน

ข้อมูลรายวิชา

  • รหัสรายวิชา : ENGCE151
  • ชื่อรายวิชา(TH) : ทฤษฎีฟัซซีเซต
  • ชื่อรายวิชา (EN) : Fuzzy Set Theory
  • เทอม / ปีการศึกษา : 1/2563

รายละเอียด

รายวิชานี้จัดอยู่ในกลุ่มวิชาชีพเลือก เพื่อให้นักศึกษาที่สนใจได้เลือกเรียน และนำความรู้เกี่ยวกับฟัซซีเซตไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์ ระบบความฉลาดเชิงคำนวณ ซึ่งเป็นวิทยาการที่น่าสนใจในปัจจุบันและอนาคตของสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีฟัซซีเซต การดำเนินการในฟัซซีเซต เลขคณิตเชิงฟัซซี ความสัมพันธ์ในรูปแบบฟัซซี ทฤษฎีความเป็นไปได้ ฟัซซีลอจิก การประยุกต์ใช้ฟัซซีเซต

Study of basic concept of Fuzzy Set, Fuzzy Set Operations, Fuzzy Numbers, Fuzzy Relations, Possibility Theory, Fuzzy Logic, Problem solving with Fuzzy Sets.

 

 

หนังสือประกอบการสอน:

[1] George J. Klir and Bo Yuan, Fuzzy Sets Fuzzy Logic: Theory and Applications, USA: Prentice Hall PTR, 1995.

[2] Jyh-Shing Roger Jang, Chuen-Tsai Sun, and Eiji Mizutani, Neuro-Fuzzy and Soft Computing: A Computational Approach to Learning and Machine Intelligence, USA: Prentice Hall, 1997.

รายวิชา - ทฤษฎีฟัซซีเซต

1.    ฟัซซีเชตเบื้องต้น
1.1    แนวคิดจากเซตปกติมาสู่ฟัซซีเชต
1.2    ชนิดของฟัซซีเซต

1.3    คุณลักษณะของฟัซซีเชต

1.4    ดีคอมโพซิชันและหลักการขยาย

2.    การดำเนินการในฟัซซีเซต
2.1    คอมพลีเมนต์
2.2    อินเตอร์เซกชัน

2.3    ยูเนียน
2.4    ตัวดำเนินการหาผลรวม

3.    เลขคณิตเชิงฟัซซี
3.1    ตัวเลขฟัซซี
3.2    การคำนวณค่าแบบช่วง
3.3    การคำนวณตัวเลขฟัซซี

4.    ความสัมพันธ์แบบฟัซซี
4.1    พื้นฐานของความสัมพันธ์
4.2    ความสัมพันธ์แบบไบนารี
4.3    คุณสมบัติของความสัมพันธ์แบบฟัซซี

สอบกลางภาค

5.    ทฤษฏีความเป็นไปได้
5.1    การวัดแบบฟัซซี

5.2    ทฤษฎีพิสูจน์หลักฐาน

5.3    ทฤษฏีความเป็นไปได้

6.    ฟัซซีลอจิก
6.1    ฟัซซีประพจน์
6.2    การลงความเห็น

7.    การประยุกต์ใช้ฟัซซีเชต
7.1    ระบบฟัซซี

7.2    การควบคุมแบบฟัซซี

7.3    ระบบนิวโรฟัซซี

อาจารย์ผู้สอน